วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ระบบเสียงคอมพิวเตอร์เเละการจัดวางลำโพงระบบเสียงต่างๆ
การ์ดเสียง หรือ ซาวน์การ์ด (sound card)
คืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลที่เก็บรายละเอียดเกี่ยวกับเสียงต่าง ๆ แปลงเป็นสัญญาณเสียงในรูปแบบสัญญาณทางไฟฟ้า
เสียงเป็นส่วนสำคัญของระบบมัลติมีเดียไม่น้อยกว่าภาพ ดังนั้นการ์ดเสียงจึงเป็นอุปกรณ์ จำเป็นที่สำคัญของระบบ คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย การ์ดเสียงได้รับการพัฒนาคุณภาพอย่างรวดเร็วเพื่อ ให้ได้ประสิทธิภาพของเสียงและความผิดเพี้ยน น้อยที่สุด ตลอดจนระบบเสียง 3 มิติในปัจจุบัน ความชัดเจน ของเสียงจะมีประสิทธิภาพดีเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ อัตราการสุ่มตัวอย่าง และ ความแม่นยำ ของตัวอย่างที่ได้ ซึ่งความแม่นยำของตัวอย่างนั้นถูกกำหนด โดยความสามารถของ A/D Converter ว่ามีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใด ทำอย่างไรจึงจะประมาณ ค่าสัญญาณดิจิตอลได้ใกล้เคียงกับสัญญาณเสียงมากที่สุด ความละเอียดของ A/D Converter นั้นถูก กำหนด โดยจำนวนบิตของสัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต เช่น - A/D Converter 8 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 256 ระดับ - A/D Converter 16 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 65,536 ระดับ หากจำนวนระดับมากขึ้นจะทำให้ความละเอียดยิ่งสูงขึ้นและการผิดเพี้ยนของสัญญาณเสียงยิ่งน้อยลง นั่นคือ ประสิทธิภาพที่ของเสียง ที่ได้รับดีขึ้นนั่นเอง แต่จำนวนบิตต่อหนึ่งตัวอย่างจะมากขึ้นด้วย
ส่วนประกอบ
การ์ดเสียงเกิดจากการนำเอาอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์มาประกอบรวมกันบนแผง PCB (Print Circuit Board) โดยมี ชิปที่เป็นอุปกรณ์หลักในการสร้างเสียงคือ Synthesizer ซึ่งในปัจจุบันมักเป็นแบบ wave table โดยผู้ผลิตชิปสังเคราะห์ เสียงที่มีชื่อเสียง คือ ESS และ Yamaha ส่วนอื่นจะเป็นช่องต่อสำหรับนำสัญญาณเข้า-ออก เพื่อทำงานด้านเสียง
1. คอนเน็คเตอร์ CD Audio เป็นส่วนที่อยู่ในเครื่อง เพื่อรับสัญญาณเสียงแบบอนาล็อกจากไดร์ฟซีดีรอมผ่านสายเชื่อม ต่อที่มี 4 ช่อง สำหรับนำมาเสียบเข้ากับตัวคอนเน็คเตอร์ การเสียบผิด ด้านไม่ทำให้เสียหายแต่จะเป็นการสลับช่องสัญญาณออก สู่ ลำโพงซ้าย-ขวา เท่านั้น
2. ชิปสังเคราะห์เสียง หรือ Synthesizer ในยุคแรกเป็นแบบ FM ที่เรียกว่า Frequency Modulation เป็นการ สังเคราะห์เสียงแบบผสมความถี่ซึ่งไม่นิยมใช้ ปัจจุบันนี้ เพราะไม่สามารถให้เสียงที่เป็นธรรมชาติเหมือนเครื่องดนตรีจริงได้ WaveTable เป็นวิธีการสังเคราะห์เสียงที่นิยมใช้กันมากที่สุด ในยุคปัจจุบันเนื่องจากสามารถให้เสียงได้ใกล้เคียงกับเครื่อง ดนตรีจริงมากที่สุด ซึ่งวิธีการคือ บันทึกเสียงเครื่องดนตรีจริงของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดไว้เป็นช่วงสั้น ๆ เพื่อเก็บไว้เป็นต้น แบบไปหาจากเสียงต้นแบบในตารางเสียงที่มีความถี่เดียวกันมา การ์ดเสียงที่ใช้วิธีการนี้ จึงให้เสียงเหมือนกับมีเครื่องดนตรี บรรเลงอยู่จริง ๆ
3. ช่อง Line - out (สีชมพู) ช่องต่อนี้จะมีเฉพาะการ์ดเสียงแบบ 4 แชนแนล ใช้สำหรับต่อสัญญาณเสียง ไปยังลำโพง แบบ Surround ซ้าย-ขวา
4. ช่อง Line - in (สีน้ำเงิน) สำหรับรับสัญญาณเสียงจากอุปกรณ์กำเนินเสียงอื่น เช่น เครื่องเล่นวิทยุ - เทป เครื่องเล่นซีดี ฯลฯ เข้ามาที่การ์ดเพื่อขยายสัญญาณเสียง หรือแสดงผลที่เครื่องของเรา
5. ช่อง Speaker (สีเขียว) สำหรับส่งสัญญาณเสียงจากการ์ดเสียงออกไปยังลำโพงปกติในแบบสเตอริโอ
6. MIDI/Game Port เป็นคอนเน็คเตอร์รูปตัว "D" ใช้ต่อพ่วงอุปกรณ์ประเภท MIDI หรืออุปกรณ์สำหรับเล่นเกม เช่น จอยสติก เกมแพด ฯลฯ
AC ‘97 มาตรฐานการ์ดเสียงออนบอร์ด
ในทุกวันนี้ เราซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้งานในราคาประหยัด มักจะมีสิ่งต่างๆ วางเรียงรายบนเมนบอร์ด เพื่อราคาที่เราคว้าถึง และหนึ่งในนั้นคือ Sound CardSound Card ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราพูดได้ (ฮา) และที่เราพบเห็นๆ ถึงเทคโนโลยีที่ใช้นั้น นับวันจะมีความสามารถมากขึ้น อย่างเทคโนโลยี Audio Codec ‘97 หรือที่เราเห็นติดตา ได้ยินติดหูว่า AC ‘97 นั้นเอง โดยมาตรฐานของ AC ‘97 มีรายละเอียดดังนี้…
AC ‘97 Version 1.0 กำหนดให้สเปคพื้นฐานของระบบเสียงนั้นจำเป้นต้องมี การเชื่อมต่อลำโพงอย่างน้อย 2 ตัว มีการเชื่อต่อกับซีดีรอม ซึ่งเป็นความต้องการพื้นฐาน
AC ‘97 Version 2.1 เพิ่มความสามารถพื้นฐานขึ้นมาอีกหน่อยครับ โดยเราสามารถเชื่อต่อลำโพงได้มากกว่า 2 ตัว
AC ‘97 Version 2.2 ความสามารถก็เพิ่มขึ้นมาอีกขั้น โดยมีการรองรับการเชื่อมต่อแบบ S/PDIF ทำให้เสียงที่ถูกส่งมาในรูปแบบดิจิตอล ถูกถอดรหัสที่ลำโพงโดยตรง ในวิธีการนี้ จะทำให้ระบบเสียงของเราคมชัดมากขึ้น
AC ‘97 Version 2.3 ได้เพิ่มการปรับแต่งคุณสมบัติต่างๆ ได้ด้วยตนเอง และมีระบบเตือนในกรณีเราต่อหัวต่อผิด โดยจะมีเสียงปี๊บๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ดังออกมา นับเป็นสิ่งที่ดีขึ้นมาก
มารู้จักระบบเสียง HD
LPCM (Linear Pulse Code Modulation) จะให้คุณภาพเสียงได้ดีที่สุดเพราะเป็นการบันทึกจากเทปต้นแบบโดยตรงแบบไม่มีการบีบอัดจึงสามารถถ่ายทอดรายละเอียดของเสียง
ออกมาได้อย่างครบถ้วนไม่มีตกหล่น ระบบเสียง LPCM Multi-channel ถึงแม้ว่าจะให้คุณภาพเสียงได้ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับระบบเสียงฟอร์แมตแบบบีบอัดอื่นๆ
แต่จะใช้อัตราความเร็วบิทข้อมูลที่สูงกว่าทำให้มีความสิ้นเปลืองพื้นที่บันทึกเสียงในแผ่นมากที่สุด
Dolby TrueHD เป็นระบบเสียงรอบทิศทางที่ไม่มีการสูญเสียของข้อมูลเลย นั่นหมายความว่าสัญญาณเสียงที่เราได้ยินจากระบบ Dolby TrueHD นั้น
จะมีความเที่ยงตรงเหมือนกับที่บันทึก มาจากสตูดิโอเลยทีเดียว และยังสามารถ รองรับช่องสัญญาณเสียงได้สูงสุดถึง 8 channel
โดยเมื่อเทียบกับระบบเสียง Dolby Digital แบบเก่า Dolby TrueHD จะให้คุณภาพเสียงที่ดีขึ้นถึง 28* เท่าเลยทีเดียว
วัดจาก Bit-rate โดย Dolby Digital จะให้ Bit-rate = 0.64 Mbps ขณะนี้ Dolby TrueHD ให้ Bit-rate = 18 Mbps)
DTS-HD MA (DTS-HD Master Audio) เป็นระบบเสียงรอบทิศทางที่ไม่มีการสูญเสียของข้อมูลคล้ายกับDolby TrueHDและรองรับช่องสัญญาณได้ถึง 8 channel เหมือนกัน
แต่สิ่งที่ DTS-HD Master Audio มีเหนือกว่าก็คือ คุณภาพเสียงซึ่งสามารถให้ได้มากถึง 28 Mpbs
แต่ในด้านความนิยมหรือความหลากหลายของแผ่นซอฟแวร์ให้ปัจจุบัน ดูเหมือนว่าทางบริษัทผู้ผลิตภาพยนตร์ จะให้ความสำคัญกับ Dolby TrueHD มากกว่า
ทำให้แผ่น Blu-ray disc ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะมี Dolby TrueHD มาด้วย ในขณะนี้แผ่น Blu-ray Disc ที่มีระบบเสียง DTS-HD Master Audio ยังมีจำนวนค่อนข้างน้อย
ไฟล์ฟูลริปเนื่องจากdvicoนั้นไม่สามารถเข้าไปชมเบื้องหลังได้ทุกเรื่องจะชมเบื้องหลังต้องเข้าเมนูของไฟล์ฟูลริปได้ ซึ่งน้อยเรื่องที่จะเข้าเมนูหนังได้มีไม่ถึง 30 เปอร์เชนต์ทำให้เสีย
เนื้อที่ในการจัดเก็บโดยเปล่าประโยชน์ ทางเราเลยตัดเบื้องหลัง เสียงภาษาต่างประเทศ Subภาษาต่างประเทศทิ้ง ขนาดไฟล์จะลดลงมากบางเรื่องใหญ่กว่าMKV นิดเดียวครับ
ทำให้สามารถจุข้อมูลได้มากขึ้น ไฟล์หนังทั้งหมดได้ผ่านการเทสกับ DVICO6500 FW1.4.25 ครับผม
ไฟล์ฟูลริปจะเหลือข้อมูลตามนี้ครับ
1.เฉพาะตัวหนังแบบไม่ลดบิตเรตใดๆคุณภาพเหมือนดูจากแผ่นบลูเรย์ เป็นไฟล์เดียวครับเรื่องที่เคยแบ่งเป็นไฟล์ย่อยๆอย่าง Gladiator A Bug Life Cars ก็จะรวมเป็นไฟล์เดียวครับ
เครื่องที่มีปัญหาในการชมอย่างไฟล์ย่อยอย่าง DVICO6600 BEVIX หรือแม้แต่ DVICO6500 ที่มีปัญหาไฟล์แบ่งย่อยในบางเรื่อง จะไร้ปัญหานี้ครับ
2.เสียง ENG แบบ HD มีทั้ง LPCM DTS HD MA DOLBY TRUE HD ดูได้ในลิสหนังเลยครับ
3.เสียง ENG DOLBY 5.1 และ DTS 5.1 สำหรับ AVR รุ่นที่ยังไม่สามารถถอดเสียงแบบ HD ได้ครับ ดูรายละเอียดได้ในลิสเลยครับ
4.เสียงไทย ทั้ง DOLBY 5.1 และ DTS 5.1 ได้โมใส่เพิ่มให้ครับ เลือกดูได้ตามใจชอบครับ ดูรายละเอียดได้ในลิสเลยครับ
5.Subtitle จะเหลือแค่ ENG กับ THAI แบบเดียวกับซับจากแผ่น BLURAY มาสเตอร์ ซับไทยเลือกตรง THA ได้เลยครับ เลือกเปิดปิดเปลี่ยนซับได้ตามต้องการ
คืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลที่เก็บรายละเอียดเกี่ยวกับเสียงต่าง ๆ แปลงเป็นสัญญาณเสียงในรูปแบบสัญญาณทางไฟฟ้า
เสียงเป็นส่วนสำคัญของระบบมัลติมีเดียไม่น้อยกว่าภาพ ดังนั้นการ์ดเสียงจึงเป็นอุปกรณ์ จำเป็นที่สำคัญของระบบ คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย การ์ดเสียงได้รับการพัฒนาคุณภาพอย่างรวดเร็วเพื่อ ให้ได้ประสิทธิภาพของเสียงและความผิดเพี้ยน น้อยที่สุด ตลอดจนระบบเสียง 3 มิติในปัจจุบัน ความชัดเจน ของเสียงจะมีประสิทธิภาพดีเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ อัตราการสุ่มตัวอย่าง และ ความแม่นยำ ของตัวอย่างที่ได้ ซึ่งความแม่นยำของตัวอย่างนั้นถูกกำหนด โดยความสามารถของ A/D Converter ว่ามีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใด ทำอย่างไรจึงจะประมาณ ค่าสัญญาณดิจิตอลได้ใกล้เคียงกับสัญญาณเสียงมากที่สุด ความละเอียดของ A/D Converter นั้นถูก กำหนด โดยจำนวนบิตของสัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต เช่น - A/D Converter 8 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 256 ระดับ - A/D Converter 16 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 65,536 ระดับ หากจำนวนระดับมากขึ้นจะทำให้ความละเอียดยิ่งสูงขึ้นและการผิดเพี้ยนของสัญญาณเสียงยิ่งน้อยลง นั่นคือ ประสิทธิภาพที่ของเสียง ที่ได้รับดีขึ้นนั่นเอง แต่จำนวนบิตต่อหนึ่งตัวอย่างจะมากขึ้นด้วย
ส่วนประกอบ
การ์ดเสียงเกิดจากการนำเอาอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์มาประกอบรวมกันบนแผง PCB (Print Circuit Board) โดยมี ชิปที่เป็นอุปกรณ์หลักในการสร้างเสียงคือ Synthesizer ซึ่งในปัจจุบันมักเป็นแบบ wave table โดยผู้ผลิตชิปสังเคราะห์ เสียงที่มีชื่อเสียง คือ ESS และ Yamaha ส่วนอื่นจะเป็นช่องต่อสำหรับนำสัญญาณเข้า-ออก เพื่อทำงานด้านเสียง
1. คอนเน็คเตอร์ CD Audio เป็นส่วนที่อยู่ในเครื่อง เพื่อรับสัญญาณเสียงแบบอนาล็อกจากไดร์ฟซีดีรอมผ่านสายเชื่อม ต่อที่มี 4 ช่อง สำหรับนำมาเสียบเข้ากับตัวคอนเน็คเตอร์ การเสียบผิด ด้านไม่ทำให้เสียหายแต่จะเป็นการสลับช่องสัญญาณออก สู่ ลำโพงซ้าย-ขวา เท่านั้น
2. ชิปสังเคราะห์เสียง หรือ Synthesizer ในยุคแรกเป็นแบบ FM ที่เรียกว่า Frequency Modulation เป็นการ สังเคราะห์เสียงแบบผสมความถี่ซึ่งไม่นิยมใช้ ปัจจุบันนี้ เพราะไม่สามารถให้เสียงที่เป็นธรรมชาติเหมือนเครื่องดนตรีจริงได้ WaveTable เป็นวิธีการสังเคราะห์เสียงที่นิยมใช้กันมากที่สุด ในยุคปัจจุบันเนื่องจากสามารถให้เสียงได้ใกล้เคียงกับเครื่อง ดนตรีจริงมากที่สุด ซึ่งวิธีการคือ บันทึกเสียงเครื่องดนตรีจริงของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดไว้เป็นช่วงสั้น ๆ เพื่อเก็บไว้เป็นต้น แบบไปหาจากเสียงต้นแบบในตารางเสียงที่มีความถี่เดียวกันมา การ์ดเสียงที่ใช้วิธีการนี้ จึงให้เสียงเหมือนกับมีเครื่องดนตรี บรรเลงอยู่จริง ๆ
3. ช่อง Line - out (สีชมพู) ช่องต่อนี้จะมีเฉพาะการ์ดเสียงแบบ 4 แชนแนล ใช้สำหรับต่อสัญญาณเสียง ไปยังลำโพง แบบ Surround ซ้าย-ขวา
4. ช่อง Line - in (สีน้ำเงิน) สำหรับรับสัญญาณเสียงจากอุปกรณ์กำเนินเสียงอื่น เช่น เครื่องเล่นวิทยุ - เทป เครื่องเล่นซีดี ฯลฯ เข้ามาที่การ์ดเพื่อขยายสัญญาณเสียง หรือแสดงผลที่เครื่องของเรา
5. ช่อง Speaker (สีเขียว) สำหรับส่งสัญญาณเสียงจากการ์ดเสียงออกไปยังลำโพงปกติในแบบสเตอริโอ
6. MIDI/Game Port เป็นคอนเน็คเตอร์รูปตัว "D" ใช้ต่อพ่วงอุปกรณ์ประเภท MIDI หรืออุปกรณ์สำหรับเล่นเกม เช่น จอยสติก เกมแพด ฯลฯ
AC ‘97 มาตรฐานการ์ดเสียงออนบอร์ด
ในทุกวันนี้ เราซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้งานในราคาประหยัด มักจะมีสิ่งต่างๆ วางเรียงรายบนเมนบอร์ด เพื่อราคาที่เราคว้าถึง และหนึ่งในนั้นคือ Sound CardSound Card ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราพูดได้ (ฮา) และที่เราพบเห็นๆ ถึงเทคโนโลยีที่ใช้นั้น นับวันจะมีความสามารถมากขึ้น อย่างเทคโนโลยี Audio Codec ‘97 หรือที่เราเห็นติดตา ได้ยินติดหูว่า AC ‘97 นั้นเอง โดยมาตรฐานของ AC ‘97 มีรายละเอียดดังนี้…
AC ‘97 Version 1.0 กำหนดให้สเปคพื้นฐานของระบบเสียงนั้นจำเป้นต้องมี การเชื่อมต่อลำโพงอย่างน้อย 2 ตัว มีการเชื่อต่อกับซีดีรอม ซึ่งเป็นความต้องการพื้นฐาน
AC ‘97 Version 2.1 เพิ่มความสามารถพื้นฐานขึ้นมาอีกหน่อยครับ โดยเราสามารถเชื่อต่อลำโพงได้มากกว่า 2 ตัว
AC ‘97 Version 2.2 ความสามารถก็เพิ่มขึ้นมาอีกขั้น โดยมีการรองรับการเชื่อมต่อแบบ S/PDIF ทำให้เสียงที่ถูกส่งมาในรูปแบบดิจิตอล ถูกถอดรหัสที่ลำโพงโดยตรง ในวิธีการนี้ จะทำให้ระบบเสียงของเราคมชัดมากขึ้น
AC ‘97 Version 2.3 ได้เพิ่มการปรับแต่งคุณสมบัติต่างๆ ได้ด้วยตนเอง และมีระบบเตือนในกรณีเราต่อหัวต่อผิด โดยจะมีเสียงปี๊บๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ดังออกมา นับเป็นสิ่งที่ดีขึ้นมาก
มารู้จักระบบเสียง HD
LPCM (Linear Pulse Code Modulation) จะให้คุณภาพเสียงได้ดีที่สุดเพราะเป็นการบันทึกจากเทปต้นแบบโดยตรงแบบไม่มีการบีบอัดจึงสามารถถ่ายทอดรายละเอียดของเสียง
ออกมาได้อย่างครบถ้วนไม่มีตกหล่น ระบบเสียง LPCM Multi-channel ถึงแม้ว่าจะให้คุณภาพเสียงได้ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับระบบเสียงฟอร์แมตแบบบีบอัดอื่นๆ
แต่จะใช้อัตราความเร็วบิทข้อมูลที่สูงกว่าทำให้มีความสิ้นเปลืองพื้นที่บันทึกเสียงในแผ่นมากที่สุด
Dolby TrueHD เป็นระบบเสียงรอบทิศทางที่ไม่มีการสูญเสียของข้อมูลเลย นั่นหมายความว่าสัญญาณเสียงที่เราได้ยินจากระบบ Dolby TrueHD นั้น
จะมีความเที่ยงตรงเหมือนกับที่บันทึก มาจากสตูดิโอเลยทีเดียว และยังสามารถ รองรับช่องสัญญาณเสียงได้สูงสุดถึง 8 channel
โดยเมื่อเทียบกับระบบเสียง Dolby Digital แบบเก่า Dolby TrueHD จะให้คุณภาพเสียงที่ดีขึ้นถึง 28* เท่าเลยทีเดียว
วัดจาก Bit-rate โดย Dolby Digital จะให้ Bit-rate = 0.64 Mbps ขณะนี้ Dolby TrueHD ให้ Bit-rate = 18 Mbps)
DTS-HD MA (DTS-HD Master Audio) เป็นระบบเสียงรอบทิศทางที่ไม่มีการสูญเสียของข้อมูลคล้ายกับDolby TrueHDและรองรับช่องสัญญาณได้ถึง 8 channel เหมือนกัน
แต่สิ่งที่ DTS-HD Master Audio มีเหนือกว่าก็คือ คุณภาพเสียงซึ่งสามารถให้ได้มากถึง 28 Mpbs
แต่ในด้านความนิยมหรือความหลากหลายของแผ่นซอฟแวร์ให้ปัจจุบัน ดูเหมือนว่าทางบริษัทผู้ผลิตภาพยนตร์ จะให้ความสำคัญกับ Dolby TrueHD มากกว่า
ทำให้แผ่น Blu-ray disc ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะมี Dolby TrueHD มาด้วย ในขณะนี้แผ่น Blu-ray Disc ที่มีระบบเสียง DTS-HD Master Audio ยังมีจำนวนค่อนข้างน้อย
ไฟล์ฟูลริปเนื่องจากdvicoนั้นไม่สามารถเข้าไปชมเบื้องหลังได้ทุกเรื่องจะชมเบื้องหลังต้องเข้าเมนูของไฟล์ฟูลริปได้ ซึ่งน้อยเรื่องที่จะเข้าเมนูหนังได้มีไม่ถึง 30 เปอร์เชนต์ทำให้เสีย
เนื้อที่ในการจัดเก็บโดยเปล่าประโยชน์ ทางเราเลยตัดเบื้องหลัง เสียงภาษาต่างประเทศ Subภาษาต่างประเทศทิ้ง ขนาดไฟล์จะลดลงมากบางเรื่องใหญ่กว่าMKV นิดเดียวครับ
ทำให้สามารถจุข้อมูลได้มากขึ้น ไฟล์หนังทั้งหมดได้ผ่านการเทสกับ DVICO6500 FW1.4.25 ครับผม
ไฟล์ฟูลริปจะเหลือข้อมูลตามนี้ครับ
1.เฉพาะตัวหนังแบบไม่ลดบิตเรตใดๆคุณภาพเหมือนดูจากแผ่นบลูเรย์ เป็นไฟล์เดียวครับเรื่องที่เคยแบ่งเป็นไฟล์ย่อยๆอย่าง Gladiator A Bug Life Cars ก็จะรวมเป็นไฟล์เดียวครับ
เครื่องที่มีปัญหาในการชมอย่างไฟล์ย่อยอย่าง DVICO6600 BEVIX หรือแม้แต่ DVICO6500 ที่มีปัญหาไฟล์แบ่งย่อยในบางเรื่อง จะไร้ปัญหานี้ครับ
2.เสียง ENG แบบ HD มีทั้ง LPCM DTS HD MA DOLBY TRUE HD ดูได้ในลิสหนังเลยครับ
3.เสียง ENG DOLBY 5.1 และ DTS 5.1 สำหรับ AVR รุ่นที่ยังไม่สามารถถอดเสียงแบบ HD ได้ครับ ดูรายละเอียดได้ในลิสเลยครับ
4.เสียงไทย ทั้ง DOLBY 5.1 และ DTS 5.1 ได้โมใส่เพิ่มให้ครับ เลือกดูได้ตามใจชอบครับ ดูรายละเอียดได้ในลิสเลยครับ
5.Subtitle จะเหลือแค่ ENG กับ THAI แบบเดียวกับซับจากแผ่น BLURAY มาสเตอร์ ซับไทยเลือกตรง THA ได้เลยครับ เลือกเปิดปิดเปลี่ยนซับได้ตามต้องการ
มาตรฐานและระบบเสียงลำโพง
เสียงเป็นข้อมูลชนิดหนึ่งที่นำมาใช้งานด้านมัลติมีเดียต่างๆ
ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยการนำไปใช้ประโยชน์ในการบันเทิง
โดยใช้เสียงและลำโพงในการกระจายข้อมูลเป็นคลื่นความถี่ให้เราได้ยินและทำงานกับการ์ดเสียงระบบเสียงในรูปแบบต่างๆ
จะได้คุณภาพเสียงที่ดี
ในปัจจุบันระบบเสียงมีการพัฒนาไปในด้านคุณภาพเสียงที่ดีมีการกำหมดให้สมจริงเพื่อเป็นการเพิ่มอรรถรสในการฟัง
จึงได้กำหนดมา๖รฐานของคุณภาพเสียงเพื่อให้ได้เสียงที่แตกต่างกันในระบบต่างๆ
ที่ใช้เสียงเป็นองค์ประกอบของระบบ
ระบบเสียง 3 มิติ เป็นระบบเสียงเซอร์ราวน์หรือว่าระบบเสียงรอบทิศทาง เป็นระบบเสียงที่ได้พัฒนาขึ้นจากใช้ลำโพงสองตัวในระบบสเตอริโอแบบเดิมเป้ฯการเพิ่มลำโพงในการกระจายเสียงให้รอบทิศทาง จะทำให้เสียงที่เราได้ยินมาได้หลายทิศทางเหมาะสำหรับการชมภาพยนตร์ได้ได้เสียงที่มาจากหลายทางมากขึ้น โดยที่เราไม่จำเป็นต้องไปโรงหนังก็มีระบบเสียงดีๆได้ที่บ้าน โดยจะมีขั้นต่างๆ ในการพัฒนา ระบบเสียงลำโพง
ระบบเสียงของลำโพงเป็นการกำหนดจำนวนและขนาดของโพงพร้อมด้วยตำแหน่งที่ควรจัดวางจะทำให้ระบบเสียงที่กระจายได้ในตำแหน่งเดียวกับเสียงภาพยนตร์และภาพจะทำงานอย่างสอดคล้องกัน อย่างเช่นเสียงเดินมาจากทางด้านซ้ายเสียงลำโพงด้านซ้ายทั้งหมดจะทำงานให้สอดคล้องกันเมื่อเข้าใกล้ก็จะมีความเข้มข้นของเสียงที่มากขึ้นด้วย ระบบลำโพงนอกจากรอบทิศทางแล้วยังพัฒนาให้มีเสียงทุ้มทำให้เสียงที่ได้ยินแยกอิสระต่อกันเสียงจะทุ้มนุ่มมากขึ้น โดยทาง Dolby Lab เป็นผู้คิดค้นและพัฒนาระบบเสียงที่เราใช้กันทั่วโลกระบบเสียงที่ว่านี้จะถูกตราสัญลักษณ์ไว้ข้างกล่องสินค้าที่ใช้ระบบเสียงนี้ทุกชนิด ซึ่งจะมีการรองรับที่ต่างกัน
ระบบเสียง 3 มิติ เป็นระบบเสียงเซอร์ราวน์หรือว่าระบบเสียงรอบทิศทาง เป็นระบบเสียงที่ได้พัฒนาขึ้นจากใช้ลำโพงสองตัวในระบบสเตอริโอแบบเดิมเป้ฯการเพิ่มลำโพงในการกระจายเสียงให้รอบทิศทาง จะทำให้เสียงที่เราได้ยินมาได้หลายทิศทางเหมาะสำหรับการชมภาพยนตร์ได้ได้เสียงที่มาจากหลายทางมากขึ้น โดยที่เราไม่จำเป็นต้องไปโรงหนังก็มีระบบเสียงดีๆได้ที่บ้าน โดยจะมีขั้นต่างๆ ในการพัฒนา ระบบเสียงลำโพง
ระบบเสียงของลำโพงเป็นการกำหนดจำนวนและขนาดของโพงพร้อมด้วยตำแหน่งที่ควรจัดวางจะทำให้ระบบเสียงที่กระจายได้ในตำแหน่งเดียวกับเสียงภาพยนตร์และภาพจะทำงานอย่างสอดคล้องกัน อย่างเช่นเสียงเดินมาจากทางด้านซ้ายเสียงลำโพงด้านซ้ายทั้งหมดจะทำงานให้สอดคล้องกันเมื่อเข้าใกล้ก็จะมีความเข้มข้นของเสียงที่มากขึ้นด้วย ระบบลำโพงนอกจากรอบทิศทางแล้วยังพัฒนาให้มีเสียงทุ้มทำให้เสียงที่ได้ยินแยกอิสระต่อกันเสียงจะทุ้มนุ่มมากขึ้น โดยทาง Dolby Lab เป็นผู้คิดค้นและพัฒนาระบบเสียงที่เราใช้กันทั่วโลกระบบเสียงที่ว่านี้จะถูกตราสัญลักษณ์ไว้ข้างกล่องสินค้าที่ใช้ระบบเสียงนี้ทุกชนิด ซึ่งจะมีการรองรับที่ต่างกัน
แบบ 2.1 เป็นระบบเสียงที่มีลำโพง 3 ตัว
โดยระบบเสียงรุ่นเดิมจะมีลำโพงแค่สองตัวในระบบสเตอริโอธรรมดาหากเป็น 2.1
จะมีลำโพงอีก 1 ตัว
โดยจะดีกว่าระบบเดิมเพียงเล็กน้อยตรงที่ลำโพงที่ให้จะเป็นเสียงทุ้มทำให้เสียงฟังสบายและแยกความแตกต่างของเสียงได้ชัดเจนขึ้น
แบบ 4.1 จาก 2.1 เป็น 4.1
โดยจะมีการเพิ่มลำโพงด้านหลังอีก 2 ตัว
เป็นลำโพงคู่หลังวางไว้ที่ข้างซ้ายและขวา
ทำให้ได้รับเสียงระบบรอบทิศทางที่ดีขึ้น
แบบ 5.1 จะมีลำโพงตรงกลางด้านหน้าอีก 1 ตัว เป็นระบบที่ทำให้ได้รับชมและฟังเสียงภาพยนตร์อย่างเต็มรูปแบบ รองรับ Dolby Digital ด้วย
แบบ 6.1 เป็นการเพิ่มลำโพงด้านหลังตรงกลางอีกหนึ่งตัว
รองรับระบบ Dolby Digital EX หรือ DTS ES
แต่เป็นระบบที่ไม่ค่อยได้รับความนิยมส่วนมากจะใช้ 7.1 ไปเลย
แบบ 7.1 เป็นระบบที่ได้พัฒนามาสูงที่สุดในปัจจุบัน
จะมีการเพิ่มลำโพงสองตัว ตรงกลางซ้ายขวา
โดยไม่มีลำโพงด้านหลังกลางเหมือนกัน 6.1
แต่ก็ต้องใช้งานร่วมกับการ์ดเสียงที่รองรับระบบนี้ด้วย
ทำให้ได้รับเสียงจากภาพยนตร์ที่สมจริงมากที่สุด
การที่เราจะได้รับฟังเสียงที่มีคุณภาพอย่างเต็มขึ้นนั้นนอกจากลำโพงที่มีจำนวนตรงตามมาตรฐานแล้วต้องเป็นลำโพงที่มีเสียงคุณภาพดี
นองจากนั้นจำเป็นที่จะต้องมีอุปกรณ์ในการรองรับเสียงชนิดที่มีความสอดคล้องกันทั้งลำโพงและระบบเสียงด้วย
วันพุธที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2560
เครื่อง Scanner เครื่อง Barcode Scanner และชนิดของ barcode
สแกนเนอร์
(Scanner)
สแกนเนอร์ (Scanner) หมายถึง อุปกรณ์ต่อพ่วงที่ทำหน้าที่กวาดจับภาพ ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ที่อ่านโดยช่องอ่านของสแกนเนอร์และเก็บไว้ในรูปแบบของไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อักษรซึ่งใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บน้อยกว่าไฟล์รูปภาพเป็นพันๆเท่า โดยการใช้โปรแกรมจดจำตัวอักษรที่เรียกว่าโปรแกรมOCR(OpticalCharacterRecognition)ซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บเอกสาร และช่วยให้งานพิมพ์เอกสารลดลงได้อย่างมากมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วจะจัดเก็บไว้ในรูปแบบของไฟล์รูปภาพ จึงเรียกอุปกรณ์นี้ว่า อิมเม็จ สแกนเนอร์ ( Image Scanner) ซึ่งสามารถจัดเก็บและบันทึกไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังสามารถนำส่งออกไปเป็นแฟ็กซ์ หรือเป็นไฟล์ข้อมูลผ่านทาง Fax/Modem ได้
สแกนเนอร์เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลประเภทที่ไม่สะดวกในการป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ทางคีย์บอร์ดได้ เช่น ภาพโลโก้ วิวทิวทัศน์ ภาพถ่ายรูปคน สัตว์ ฯลฯ เราสามารถใช้สแกนเนอร์สแกนภาพเพื่อแปลงเป็นข้อมูลเข้าไปสู่เครื่องได้โดยตรง หน่วยประมวลผลจะนำข้อมูลที่ได้รับมานั้นแสดงเป็นภาพให้ปรากฏอยู่บนจอภาพ เพื่อนำมาแก้ไขสี รูปร่าง ตัดแต่ง และนำภาพไปประกอบงานพิมพ์อื่นๆ ได้ การทำงานของสแกนเนอร์อาศัยหลักของการสะท้อนแสง โดยเมื่อเราวางภาพลงไปในสแกนเนอร์ ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะวิธีการใช้งานของสแกนเนอร์แต่ละแบบว่าจะใส่ภาพเข้าไปอย่างไร สแกนเนอร์จะทำการฉายแสงไปกระทบกับวัตถุให้สะท้อนไปตกบนตัวรับแสงทีละแถว ข้อมูลในแถวนั้นๆ ก็จะถูกแปลงเป็นจุดเล็กๆ ในลักษณะสัญญาณดิจิตัลเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ เมื่อต้นกำเนิดแสงและตัวรับแสงเลื่อนไปยังภาพแถวต่อไป สัญญาณที่ได้จากแถวต่อมาก็จะถูกส่งต่อเนื่องกันไปจนสุดภาพ
สแกนเนอร์แบ่งเป็น 3 ประเภทหลักๆ คือ
1.สแกนเนอร์มือถือ (Hand-Held Scanner) มีขนาดเล็ก ราคาไม่แพงนัก เก็บภาพขนาดเล็กๆ ซึ่งไม่ต้องการความละเอียดมากนักได้ เช่น โลโก้ ลายเซ็น เป็นต้น
2.สแกนเนอร์ดึงกระดาษ (Sheet-Fed Scanner) เป็นสแกนเนอร์ที่ใหญ่กว่าสแกนเนอร์มือถือ ใช้หลักการดึงกระดาษขึ้นมาสแกนทีละแผ่น แต่มีข้อจำกัดคือถ้าต้องการสแกนภาพจากหนังสือที่เป็นรูปเล่ม ต้องฉีกกระดาษออกมาทีละแผ่น ทำให้ไม่สะดวกในการสแกน คุณภาพที่ได้จากสแกนเนอร์ประเภทนี้อยู่ในระดับปานกลาง
3.สแกนเนอร์แท่นเรียบ (Flatbed Scanner) เป็นสแกนเนอร์ที่มีกระจกใสไว้สำหรับวางภาพที่จะสแกน เหมือนเครื่องถ่ายเอกสาร คุณภาพของงานสแกนประเภทนี้จะดีกว่าสแกนเนอร์แบบมือถือ หรือสแกนเนอร์แบบดึงกระดาษ แต่ราคาสูงกว่าเช่นกัน
ปัจจุบันสแกนเนอร์รุ่นใหม่ๆ มีขีดความสามารถในการใช้งานมากขึ้นทั้งในเรื่องของความเร็ว และความละเอียดของภาพที่ได้จากการสแกน นอกจากนี้ยังสามารถสแกนจากวัตถุอื่นๆ ที่ไม่ใช่กระดาษเพียงอย่างเดียว เช่น วัตถุ 3 มิติ ที่มีขนาดและน้ำหนักที่ไม่มากจนเกินไป หรือแม้กระทั่งฟิล์มและสไลด์ของภาพต้นฉบับเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้เลยโดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องไปอัดขยายเป็นภาพถ่ายปกติเหมือนในอดีต
ส่วนประกอบของสแกนเนอร์
1. แผ่นปิด (Document Cover)เป็นส่วนที่มีความสำคัญ เพราะใช้สำหรับป้องกันแสงจากภายนอกที่อาจจะเข้าไปรบกวนในขณะที่สแกนเนอร์ทำงาน ดังนั้นเมื่อสแกนภาพทุกครั้งจะต้องปิดแผ่นปิดเสมอ แต่บางครั้งอาจจะถอดฝาดังกล่าวออกได้หากเอกสารที่นำมาสแกนมีความหนาและสามารถที่ปิดกระจกวางได้สนิท
2. แผ่นกระจกวางรูป (Document Table) เป็นบริเวณที่นำภาพมาวางขณะสแกนภาพ
3. คาร์เรียจ (Carriage) เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดสำหรับการสแกนภาพ ประกอบด้วยอุปกรณ์หลักๆอยู่ 2 ประเภท คือ ตัวตรวจจับแสง (Optical Sencor) และหลอดฟลูออเรสเซนต์
4. แผงหน้าปัทม์ควบคุม ใช้สำหรับกำหนดและควบคุมการทำงานสแกนเนอร์ ในเรื่องของความละเอียด ความสว่าง (Brightness) สัดส่วนขนาดของภาพ และการเลือกพิมพ์จากภาพสแกน
5. ดิพสวิตซ์ ใช้สำหรับบอกลักษณะการติดต่อระหว่างสแกนเนอร์กับคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสแกนภาพ
1. สแกนเนอร์
2 . สาย SCSI หรือ USB (Universal Serial BUS )สำหรับต่อสายจากการสแกนเนอร์กับไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
3 . ซอฟต์แวร์สำหรับการสแกนภาพ ซึ่งทำหน้าที่สำหรับควบคุมการทำงานของสแกนเนอร์ให้สแกนภาพได้ตามที่กำหนด
4. ซอฟต์แวร์สำหรับการแก้ไขภาพที่สแกนมาแล้วเช่นPhotoshopImagescanIIหรือกรณีที่ต้องการสแกนเอกสารเก็บไว้เป็นไฟล์ที่นำกลับมาแก้ไขได้ อาจจะมีซอฟต์แวร์ที่สนับสนุนการทำงานด้าน OCR
5 . จอภาพที่เหมาะสมสำหรับการแสดงภาพที่สแกนมาจากสแกนเนอร์
6 . เครื่องมือสำหรับแสดงพิมพ์ภาพที่สแกนออกมา เช่น เครื่องพิมพ์หรือ สไลด์โปรเจคเตอร์
2.เรื่มต้น CanoScan Toolbox Windows คลิ๊กเมนู [Start] แล้วเลือก [(All) Programs], [Canon], [CanoScan Toolbox 4.] และ [CanoScan Toolbox 4.] (ให้ Windows XP screenshot เป็นตัวอย่าง)
Macintosh
เปิดโฟลเดอร์ [Applications] แล้วดับเบิ้ลคลิ๊กโฟลเดอร์ [CanoScan Toolbox 4.] ตามด้วยไอคอน [CanoScan Toolbox X]
3.หน้าต่างหลัก CanoScan Toolbox แสดงขึ้น
4. คลิ๊กปุ่มที่เหมาะสม (หน้าต่างตั้งค่าที่เกี่ยวข้องปรากฎขึ้น)
5.กำหนดการติดตั้งสแกนเนอร์ เเละตำแหน่งที่ต้องการจัดเก็ฐภาพสแกน ถ้าเป็นไปได้ท่านอาจต้องทำการติดตั้งเครื่องพิมพ์
6. คลิ๊ก "Scan"
7. การสแกนเริ่มขึ้นตามการตั้งค่าที่ทำขึ้นในขั้นตอนที่ "5" เมื่อสิ้นสุดการสแกน ฟังก์ชั่นจะทำงานโดยการคลิ๊กปุ่มในขั้นตอนที่ "4"
การทำงานของสแกนเนอร์
1. เทคนิคการสแกนภาพ
- สแกนเนอร์สีแบบสแกนผ่านครั้งเดียว ( One-Pass Scanners)
- สแกนเนอร์สีแบบสแกนผ่านสามครั้ง ( Three-Pass Color Scanners)
2. เทคโนโลยีการสแกนภาพ
- แบบ PMT (Photomultiplier Tube)
- แบบ CCD (Charge-Coupled Deiver)
- แบบ CIS (Contact Image Sensor)
3. โปรแกรมควบคุม
4. การบันทึกข้อมูล
- รูปแบบของข้อมูลภาพ (Image Data Type)
- ภาพขาวดำ (Black & White)
- ภาพสีเทา (Grayscale)
- ภาพ 16 และ 256 สีที่ได้กำหนดไว้แล้วในตารางสี ( Indexed 16 and 256-Color)
- ภาพ RGBสีจริง (RGB True Color)
- ภาพ 8 สี (RGB 8-Color)
- ตัวหนังสือ
- รูปแบบของไฟล์รูปภาพมาตรฐาน
5. การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
- ขนาดของไฟล์ภาพและความคมชัด
- ตั้งค่า Resolution ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
- ขนาดของไฟล์ที่สแกนได้
- เฉดสีหลากหลาย
โปรแกรมที่ใช้กับสแกนเนอร์
1. โปรแกรมไดร์เวอร์สำหรับสแกนเนอร์
เป็นโปรแกรมที่จำเป็นที่สุดในการใช้งานสแกนเนอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมาพร้อม กับอุปกรณ์ โดยอาจจะบรรจุอยู่ในแผ่นดิสก์ติดตั้งแยกต่างหาก หรืออาจรวมมากับโปรแกรม OCR หรือโปรแกรมแต่งภาพก็ได้ ไฟล์ที่ใช้งานมักจะลงท้ายด้วย .sys หรือ .drv เสมอ
2. โปรแกรม OCR
OCR ย่อมาจาก Optical Character Recognition เป็นโปรแกรมที่สามารถจดจำตัว อักษรและสามารถแปลงไฟล์กราฟิกหรือไฟล์รูปภาพ(Graphic File)ให้เป็นไฟล์ตัวอักษร (text File)ได้ ช่วยให้ไม่ต้องพิมพ์ข้อความต่างๆที่มีอยู่ซ้ำด้วยแป้นพิมพ์ เพียงแต่สแกนด้วยสแกนเนอร์ แล้วใช้คำสั่งที่มีอยุ่ในโปรแกรมแปลงภาพที่ต้องการเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ในรูปแบบของไฟล์ตัวอักษร ก็สามารถเรียกไฟล์ดังกล่าวออกมาดู แก้ไข ดัดแปลง โดยใช้โปรแกรมเวิร์ดโปรเซสเซอร์ใดๆก็ได้ ช่วยลดงานพิมพ์ลงเป็นจำนวนมาก ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายลงได้ โปรแกรมเหล่านี้มักจะมีคำว่า OCR เป็นส่วนประกอบของชื่อโปรแกรมอยู่ด้วย เช่น โปรแกรม ReadiRis OCR โปรแกรม ThaiOCR และ โปรแกรม Recognita GO_CR เป็นต้น โปรแกรม OCR นอกจากจะใช้คู่กับสแกนเนอร์แล้ว ยังพบอยู่กับโปรแกรมที่ใช้คู่กับ Fax/Modemอีกด้วย ทั้งนี้เพราะสามารถใช้เครื่องส่งโทรสารหรือเครื่องส่งแฟ็กซ์ แทนสแกนเนอร์ได้ หรือจะเรียกเครื่องโทรสารเป็นสแกนเนอร์ชนิดได้ โปรแกรมแฟ็กซ์/โมเด็มที่กล่าวถึงได้แก่ โปรแกรม QuickLink Gold โปรแกรม WinFax Pro โปรแกรม SuperFax โปรแกรม UltraFax เป็นต้น
3. โปรแกรมแต่งภาพและจัดอัลบัมภาพ
เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับตกแต่งภาพที่ได้จากการสแกน และภาพจากไฟล์กราฟิกที่มี นามสกุลต่าง ๆ เช่น TIF, BMP, PCX, TGA, GIF, SPG, CGM, EPS, PCD, WMF ฯลฯ ชื่อโปรแกรมมักมีคำว่า Photo หรือ Image ร่วมอยู่ด้วย เช่น โปรแกรม iPhoto Deluxe โปรแกรม ImagePro โปรแกรม ImagePals! Go! เป็นต้น แต่ก็อาจจะไม่มีคำดังกล่าวก็ได้ เช่น โปรแกรม Finishing TOUCH เป็นต้น โปรแกรมกราฟิกและโปรแกรมสำหรับทำ Presentation ก็มักจะมีคำสั่ง Scan สำหรับใช้กับสแกนเนอร์ด้วยเช่นกัน เช่น โปรแกรม CorelDraw! เป็นต้น
ประเภทของภาพที่เกิดจากการสแกน แบ่งเป็นประเภทดังนี้
1. ภาพ Single Bit
ภาพ Single Bit เป็นภาพที่มีความหยาบมากที่สุดใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูล น้อยที่สุดและ นำมาใช้ประโยชน์อะไรไ่ม่ค่อยได้ แต่ข้อดีของภาพประเภทนี้คือ ใช้ทรัพยากรของเครื่องน้อยที่สุดใช้พื้นที่ ในการเก็บข้อมูลน้อยที่สุด ใช้ระยะเวลาในการสแกนภาพน้อยที่สุด Single-bit แบ่งออกได้สองประเภทคือ
- Line Art ได้แก่ภาพที่มีส่วนประกอบเป็นภาพขาวดำ ตัวอย่างของภาพพวกนี้ ได้แก่ ภาพที่ได้จากการสเก็ต
- Halftone ภาพพวกนี้จะให้สีที่เป็นโทนสีเทามากกว่า แต่โดยทั่วไปยังถูกจัดว่าเป็นภาพประเภท Single-bit เนื่องจากเป็นภาพหยาบๆ
2. ภาพ Gray Scale
ภาพพวกนี้จะมีส่วนประกอบมากกว่าภาพขาวดำ โดยจะประกอบด้วยเฉดสีเทาเป็นลำดับขั้น ทำให้เห็นรายละเอียดด้านแสง-เงา ความชัดลึกมากขึ้นกว่าเดิมภาพพวกนี้แต่ละพิกเซลหรือแต่ละจุดของภาพอาจประกอบด้วยจำนวนบิตมากกว่า ต้องการพื้นที่เก็บข้อมูลมากขึ้น
3. ภาพสี
หนึ่งพิกเซลของภาพสีนั้นประกอบด้วยจำนวนบิตมหาศาล และใช้พื้นที่เก็บข้อมูลมาก ควาามสามารถในการสแกนภาพออกมาได้ละเอียดขนาดไหนนั้นขึ้นอยู่กับว่าใช้สแกนเนอร์ขนาดความละเอียดเท่าไร
4. ตัวหนังสือ
ตัวหนังสือในที่นี้ ได้แก่ เอกสารต่างๆ เช่น ต้องการเก็บเอกสารโดยไม่ต้อง พิมพ์ลงในแฟ้มเอกสารของเวิร์ดโปรเซสเซอร์ ก็สามารถใช้สแกนเนอร์สแกนเอกสาร ดังกล่าว และเก็บไว้เป็นแฟ้มเอกสารได้ นอก จากนี้ด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันสามารถใช้ โปรแกรมที่สนับสนุน OCR (Optical Characters Reconize) มาแปลงแฟ้มภาพเป็น เอกสารดังกล่าวออกมาเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถแก้ไขได้
2. กำหนดส่วนกว้างของแต่ละ Bar และ Space
3. จัดกลุ่มของบาร์โค้ดที่อ่านเข้ามา
4. นำ Element Widths เปรียบเทียบกับรูปแบบตารางบาร์โค้ด
5. ตรวจสอบ Start/Stop Characters เวลาที่มีการอ่านกลับทิศทาง
6. ยืนยัน Quiet Zone ทั้งสองข้างของบาร์โค้ด
7. ยืนยันความถูกต้องของ Check Characters
หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค๊ด
1. เครื่องอ่าน (Reader) ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค๊ด
2. รับแสงที่สะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค๊ด
3. เปลี่ยนปริมาณแสงที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า
4. เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นข้อมูลที่นำไปใช้งานได
1. เครื่องอ่าน (Reader)
ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด หรือ แหล่งกำเนิดแสง (Light Source) ภายในเครื่องอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด และกวาดแสงอ่านผ่านแท่งบาร์
2. รับแสงที่สะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค๊ด
ฉายการอ่านบาร์โค้ดจะใช้หลักการสะท้อนแสงกลับมาที่ตัวรับแสง
3. เปลี่ยนปริมาณแสงที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า
ภายในเครื่องอ่านบาร์โค้ดจะมีอุปกรณ์เปลี่ยนปริมาณแสง ที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า
4. เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นข้อมูลที่นำไปใช้งานได้
สัญญาณไฟฟ้าจะไปเปรียบเทียบกับตารางบาร์โค้ดที่ ตัวถอดรหัส (Decoder) และเปลี่ยนให้เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้งานได้
สรุปหลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด
เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด แล้วรับแสงที่สะท้อนกลับจากแท่งบาร์โค้ด ซึ่ง Space จะสะท้อนแสงได้ดีกว่าแท่งBar จากนั้นปริมาณแสงสะท้อนจะถูกเปลี่ยนไปเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า แล้วถูกส่งต่อไปยังตัวถอดรหัส (Decoder) และแปลงให้เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้งานได้
เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบสัมผัส (Contact Scanners)
เครื่องอ่านบาร์โค้ดประเภทนี้ เป็นอุปกรณ์ที่เวลาอ่าน ต้องสัมผัสกับผิวหน้าของรหัสแท่ง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบเลเซอร์ชนิดอ่านหลายเส้นหลายทิศทาง(Omni-Direction) เป็นแสงเลเซอร์ มากกว่า 10 เส้นอยู่ในแนวขนานและตัดกันไปมาเหมือนตาข่ายทำให้สามารถอ่านบาร์โค้ดได้หลายทิศทาง
แต่สิ่งที่แตกต่างคือ ขนาดของความยาว,ความสามารถในแปลตัวอักษร บางชนิดอาจจะแต่ตัวเลข บางชนิดใช้ได้
ทั้งตัวเลขและตัวอักษร
การเลือกใช้มาตรฐานบาร์โค้ด
เริ่มต้นจากธุรกิจ ก็ต้องดูที่คู่ค้า ที่ต้องมีการใช้โค้ดร่วมกัน มีการใช้แบบเจาะจง เราใช้ตามคู่ค้าของเราก็ยอมเป็นผลดี
ต่อการใช้งานร่วมกัน
แต่หากใช้เฉพาะภายในองค์กร ก็แล้วแต่ ผู้ที่รับผิดชอบจะตัดสินใจว่าจะใช้แบบใด บางมาตรฐานจะต้องมีformatตายตัว
บางครั้งใช้งานไม่สะดวก บางแบบมีformatที่ยืดหยุ่นผู้ใช้สามารถเลือกพิมพ์ด้ามต้องการก็มี มาตรฐานกับงานที่นิยมใช้มีดังนี้
1. สำหรับสินค้าปลีก,ซุปเปอร์มาร์เก็ต : UPC,EAN,ISBN-13
2. ไปรษณีย์ (อเมริกา) : POSTNET
3. สำหรับงานลอจิสติก ชิบปิ้ง สินค้าคงคลัง การกระจายสินค้า : Code128,Code39,Interleaved 2of5 (ITF)
มาตรฐานบาร์โค้ด 1D
1. 2 of 5 (non-interleaved)
ปัจจุบันพบน้อยมาก ยังมีการใช้อยู่บ้าง เช่น ตั๋วสายการบิน ห้องแลบภาพ 2 of 5 เป็นโค้ดที่ใช้ในการเข้ารหัสข้อมูลที่เก่าแก่ที่สุด
2 of 5 (non-interleaved) และ 2 of 5 (interleaved) หลายคนมักสับสน เพราะ 2 of 5 (interleaved) ยังมีความนิยมแพร่หลายอยู่
ซึ่งถือว่า เป็นคนละโค้ดกัน และเครื่องหรือโปรแกรมอาจจะไม่สนับสนุน ดังนั้นต้องดูให้แน่ใจว่าเป็น non-interleaved หรือ interleaved
2. bookland
เป็นบาร์โค้ดรุ่นเก่าที่ใช้กับพวกหนังสือ ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย ISBN-13 บางครั้งสองคำนี้จะใช้เรียกแทนกัน
3. Codabar
เป็นบาร์โค้ด ที่ใช้ใน FED-EX,ห้องสมุด,ธนาคารเลือด
4. Code 128
จัดเป็นโค้ดที่มีความนิยมมาก มันมีความหนาแน่น กะทัดรัด การบีบข้อมูล ที่ดีกว่า Code39
Code 128 สามารถสนันสนุน ได้ 128 ASCII ตัว(ทั้งตัวเลขและอักษร) นิยมใช้ในงานชิบปิ้ง
มีการแบ่งกลุ่มเป็น3แบบคือ
set A : ASCII characters 00 to 95 (0-9, A-Z and control codes), special characters, and FNC 1-4
set B : ASCII characters 32 to 127 (0-9, A-Z, a-z), special characters, and FNC 1-4
set C : 00-99 (encodes each two digits with one code) and FNC1
หากต้องใช้ ตัวอักษร และ/หรือ ตัวเลข Code128 จึงที่เป็นที่เหมาะสมในการนำมาใช้งาน อีกทั้งมีความยืดหยุ่น
ในการบรรจุตัวอักขระ เพราะไม่ล๊อคตายตัว สามารถพิมพ์อักษรหรือตัวเลขที่ต้องการได้เลย
5. Code 39 (Code 3 of 9)
เป็นโค้ดรุ่นเก่า แต่ยังมีความนิยมในการใช้งานอยู่ ใช้กับงาน Inventory และตรวจติดตาม สามารถบรรจุได้ทั้งตัวเลขและ
ตัวอักษร สามารถพิมพ์ได้หลายขนาด โดยแบบพื้นฐานจะรองรับอักษร A-Z ,0-9
6. Code 93
เป็นโค้ดที่ไม่ค่อยมีการใช้งาน ขนาดกะทัดรัด ใช้ในงานชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิค และเนื่องจาก ชื่อที่คล้ายคลึงระหว่าง
Code 93 และ Code 39 ซึ่งทำให้เข้าใจผิดได้ ดังนั้นหากมีการใช้งานในโค้ดดังกล่าว จะตัดซื้ออุปกรณ์หรือซอฟแวร์
ต้องแน่ใจว่า ตรงกับที่จะใช้งาน
7. EAN
EAN ย่อมาจาก European Article Number นิยมใช้กับสินค้าปลีก ใน สหรัฐ และ ญี่ปุ่น และแพร่หลายในอุตสาหกรรมค้าปลีก
ทั่วโลก
8. GS1-128 (EAN-128)
GS1-128 เป็นโค้ดพิเศษ ของ Code128 ที่มีการถอดรหัสกับระบบ GS1
9. Interleaved 2 of 5 (ITF)
เป็นโค้ดที่เป็น ตัวเลขเท่านั้น มีขนาดเล็ก เพราะมีการเข้ารหัสทั้งในแถบและช่องว่าง ใช้ในกล่องกระดาษลูกฟูกในอุตสาหกรรม
ขนส่งสินค้า
10. ISBN-13
เป็นโค้ดค้าปลีก พวกหนังสือ นิตยสาร หรือผลิตภัณฑ์อื่นที่เกี่ยวกับหนังสือ โดยมีส่วนประกอบจาก EAN13และ supplemental code
5ตัว ซึ่งจะแสดง IDของหนังสือและราคาปก
11. ISSN
ใช้ในอุตสาหกรรมงานพิมพ์ วารสารอิเล็กทรอนิค
12. MSI Plessey
ตัวเลขสัญลักษณ์ ที่ใช้ในห้องสมุด
13.POSTNET
บาร์โค้ดที่ใช้ในการเข้ารหัสรหัสไปรษณีย์ของไปรษณีย์สหรัฐ ซึ่งมีแตกต่างจากบาร์โค้ดอื่น ๆ
มีความพิเศษที่แตกต่าง คือ จะมีความสูงของแท่งไม่เท่ากันและระยะห่างระหว่างแถบเท่ากัน
ซึ่งบรรจุึข้อมูลของรหัสไปรษณีย์และพื้นที่จัดส่ง
14. UPC
UPC ย่อมาจาก Universal Product Code ใช้มากกับสินค้าปลีกในสหรัฐและแคนนาดา อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
15. Supplemental barcode
เป็นโค้ดที่เพิ่มเติมทางด้านขวา พบใน UPC, EAN หรือ ISBN-13 จะเป็นตัวอักขระที่เพิ่มมา2-5ตัว
มาตรฐานบาร์โค้ด 2D
1. QR-Code
QR (Quick Response) ประดิษฐ์คิดค้นโดย บริษัท เด็นโซ่เวฟ จัดเป็นบาร์โค้ดยอดนิยม ที่เครื่องอ่าน2Dทั่วไปทุกยี่ห้อ
สามารถสแกนได้ มักจะอ่านได้ดี และโปรแกรมsmartphoneหลายตัวก็สามารถอ่านได้ เรียกว่าสามารถอ่านได้ง่าย ซึ่งเราจะเคยพบสิ่งพิมพ์
ลงในสื่อต่างๆเมื่อสแกนมาก็เป็นที่อยู่เว็บ มีความหนาแน่นสูง ทำให้บรรจุอักษรได้มาบนพื้นที่เล็กๆ ขนาดจะเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส ทำให้พื้นที่น้อย
และไม่ต้องมีFormatในการบรรจุข้อมูล สามารถใส่ได้ตามต้องการ
2. MaxiCode
ประกอบด้วย จุดเหมือนรังผึ้ง รอบๆกระจาย วงกลมตรงกลาง พบในการใช้ส่งพัสดุของสหรัฐ ต้องใส่ข้อมูลลงตาม Formatที่กำหนด
3. PDF417
คิดค้นโดย Symbol Technologies บรรจุได้ถึงประมาณ 1100ตัว มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีแถบเริ่มต้นและแถบปิดท้าย
ทำให้กินพื้นที่มากขึ้นกว่าโค้ดอื่นๆ ไม่ต้องมีFormatในการบรรจุข้อมูล สามารถใส่ได้ตามต้องการ
4. Data Matrix
หากดูผิวเผินจะคล้ายกับ Qr code แต่จริงๆแล้วไม่เหมือนกัน การอ่านและถอดรหัสจะทำในเส้นทแยงมุุม(QR จะอ่านตามแนวตรง)
พบในผลิตภัณฑ์จากทางสหรัฐและยุโรป จุดอ่อน คือ ต้องใส่ข้อมูลลงตาม Formatที่กำหนด
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
http://www.esssyntech.com/index.php/Products-Knowledge/barcode-scanner-knowledge.html
http://www.telzel.com/know4.html
http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=2079&read=true&count=true
http://www.prakan.ac.th/Link-Data/web-it/data/web%20dream/scanner.htm
สแกนเนอร์ (Scanner) หมายถึง อุปกรณ์ต่อพ่วงที่ทำหน้าที่กวาดจับภาพ ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ที่อ่านโดยช่องอ่านของสแกนเนอร์และเก็บไว้ในรูปแบบของไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อักษรซึ่งใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บน้อยกว่าไฟล์รูปภาพเป็นพันๆเท่า โดยการใช้โปรแกรมจดจำตัวอักษรที่เรียกว่าโปรแกรมOCR(OpticalCharacterRecognition)ซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บเอกสาร และช่วยให้งานพิมพ์เอกสารลดลงได้อย่างมากมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วจะจัดเก็บไว้ในรูปแบบของไฟล์รูปภาพ จึงเรียกอุปกรณ์นี้ว่า อิมเม็จ สแกนเนอร์ ( Image Scanner) ซึ่งสามารถจัดเก็บและบันทึกไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังสามารถนำส่งออกไปเป็นแฟ็กซ์ หรือเป็นไฟล์ข้อมูลผ่านทาง Fax/Modem ได้
สแกนเนอร์เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลประเภทที่ไม่สะดวกในการป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ทางคีย์บอร์ดได้ เช่น ภาพโลโก้ วิวทิวทัศน์ ภาพถ่ายรูปคน สัตว์ ฯลฯ เราสามารถใช้สแกนเนอร์สแกนภาพเพื่อแปลงเป็นข้อมูลเข้าไปสู่เครื่องได้โดยตรง หน่วยประมวลผลจะนำข้อมูลที่ได้รับมานั้นแสดงเป็นภาพให้ปรากฏอยู่บนจอภาพ เพื่อนำมาแก้ไขสี รูปร่าง ตัดแต่ง และนำภาพไปประกอบงานพิมพ์อื่นๆ ได้ การทำงานของสแกนเนอร์อาศัยหลักของการสะท้อนแสง โดยเมื่อเราวางภาพลงไปในสแกนเนอร์ ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะวิธีการใช้งานของสแกนเนอร์แต่ละแบบว่าจะใส่ภาพเข้าไปอย่างไร สแกนเนอร์จะทำการฉายแสงไปกระทบกับวัตถุให้สะท้อนไปตกบนตัวรับแสงทีละแถว ข้อมูลในแถวนั้นๆ ก็จะถูกแปลงเป็นจุดเล็กๆ ในลักษณะสัญญาณดิจิตัลเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ เมื่อต้นกำเนิดแสงและตัวรับแสงเลื่อนไปยังภาพแถวต่อไป สัญญาณที่ได้จากแถวต่อมาก็จะถูกส่งต่อเนื่องกันไปจนสุดภาพ
สแกนเนอร์แบ่งเป็น 3 ประเภทหลักๆ คือ
1.สแกนเนอร์มือถือ (Hand-Held Scanner) มีขนาดเล็ก ราคาไม่แพงนัก เก็บภาพขนาดเล็กๆ ซึ่งไม่ต้องการความละเอียดมากนักได้ เช่น โลโก้ ลายเซ็น เป็นต้น
2.สแกนเนอร์ดึงกระดาษ (Sheet-Fed Scanner) เป็นสแกนเนอร์ที่ใหญ่กว่าสแกนเนอร์มือถือ ใช้หลักการดึงกระดาษขึ้นมาสแกนทีละแผ่น แต่มีข้อจำกัดคือถ้าต้องการสแกนภาพจากหนังสือที่เป็นรูปเล่ม ต้องฉีกกระดาษออกมาทีละแผ่น ทำให้ไม่สะดวกในการสแกน คุณภาพที่ได้จากสแกนเนอร์ประเภทนี้อยู่ในระดับปานกลาง
3.สแกนเนอร์แท่นเรียบ (Flatbed Scanner) เป็นสแกนเนอร์ที่มีกระจกใสไว้สำหรับวางภาพที่จะสแกน เหมือนเครื่องถ่ายเอกสาร คุณภาพของงานสแกนประเภทนี้จะดีกว่าสแกนเนอร์แบบมือถือ หรือสแกนเนอร์แบบดึงกระดาษ แต่ราคาสูงกว่าเช่นกัน
ปัจจุบันสแกนเนอร์รุ่นใหม่ๆ มีขีดความสามารถในการใช้งานมากขึ้นทั้งในเรื่องของความเร็ว และความละเอียดของภาพที่ได้จากการสแกน นอกจากนี้ยังสามารถสแกนจากวัตถุอื่นๆ ที่ไม่ใช่กระดาษเพียงอย่างเดียว เช่น วัตถุ 3 มิติ ที่มีขนาดและน้ำหนักที่ไม่มากจนเกินไป หรือแม้กระทั่งฟิล์มและสไลด์ของภาพต้นฉบับเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้เลยโดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องไปอัดขยายเป็นภาพถ่ายปกติเหมือนในอดีต
ส่วนประกอบของสแกนเนอร์
1. แผ่นปิด (Document Cover)เป็นส่วนที่มีความสำคัญ เพราะใช้สำหรับป้องกันแสงจากภายนอกที่อาจจะเข้าไปรบกวนในขณะที่สแกนเนอร์ทำงาน ดังนั้นเมื่อสแกนภาพทุกครั้งจะต้องปิดแผ่นปิดเสมอ แต่บางครั้งอาจจะถอดฝาดังกล่าวออกได้หากเอกสารที่นำมาสแกนมีความหนาและสามารถที่ปิดกระจกวางได้สนิท
2. แผ่นกระจกวางรูป (Document Table) เป็นบริเวณที่นำภาพมาวางขณะสแกนภาพ
3. คาร์เรียจ (Carriage) เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดสำหรับการสแกนภาพ ประกอบด้วยอุปกรณ์หลักๆอยู่ 2 ประเภท คือ ตัวตรวจจับแสง (Optical Sencor) และหลอดฟลูออเรสเซนต์
4. แผงหน้าปัทม์ควบคุม ใช้สำหรับกำหนดและควบคุมการทำงานสแกนเนอร์ ในเรื่องของความละเอียด ความสว่าง (Brightness) สัดส่วนขนาดของภาพ และการเลือกพิมพ์จากภาพสแกน
5. ดิพสวิตซ์ ใช้สำหรับบอกลักษณะการติดต่อระหว่างสแกนเนอร์กับคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสแกนภาพ
1. สแกนเนอร์
2 . สาย SCSI หรือ USB (Universal Serial BUS )สำหรับต่อสายจากการสแกนเนอร์กับไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
3 . ซอฟต์แวร์สำหรับการสแกนภาพ ซึ่งทำหน้าที่สำหรับควบคุมการทำงานของสแกนเนอร์ให้สแกนภาพได้ตามที่กำหนด
4. ซอฟต์แวร์สำหรับการแก้ไขภาพที่สแกนมาแล้วเช่นPhotoshopImagescanIIหรือกรณีที่ต้องการสแกนเอกสารเก็บไว้เป็นไฟล์ที่นำกลับมาแก้ไขได้ อาจจะมีซอฟต์แวร์ที่สนับสนุนการทำงานด้าน OCR
5 . จอภาพที่เหมาะสมสำหรับการแสดงภาพที่สแกนมาจากสแกนเนอร์
6 . เครื่องมือสำหรับแสดงพิมพ์ภาพที่สแกนออกมา เช่น เครื่องพิมพ์หรือ สไลด์โปรเจคเตอร์
ขั้นตอนการทำงานพื้นฐาน (CanoScan Toolbox 4.)
1.วางเอกสารบนสแกนเนอร์2.เรื่มต้น CanoScan Toolbox Windows คลิ๊กเมนู [Start] แล้วเลือก [(All) Programs], [Canon], [CanoScan Toolbox 4.] และ [CanoScan Toolbox 4.] (ให้ Windows XP screenshot เป็นตัวอย่าง)
Macintosh
เปิดโฟลเดอร์ [Applications] แล้วดับเบิ้ลคลิ๊กโฟลเดอร์ [CanoScan Toolbox 4.] ตามด้วยไอคอน [CanoScan Toolbox X]
3.หน้าต่างหลัก CanoScan Toolbox แสดงขึ้น
4. คลิ๊กปุ่มที่เหมาะสม (หน้าต่างตั้งค่าที่เกี่ยวข้องปรากฎขึ้น)
5.กำหนดการติดตั้งสแกนเนอร์ เเละตำแหน่งที่ต้องการจัดเก็ฐภาพสแกน ถ้าเป็นไปได้ท่านอาจต้องทำการติดตั้งเครื่องพิมพ์
6. คลิ๊ก "Scan"
7. การสแกนเริ่มขึ้นตามการตั้งค่าที่ทำขึ้นในขั้นตอนที่ "5" เมื่อสิ้นสุดการสแกน ฟังก์ชั่นจะทำงานโดยการคลิ๊กปุ่มในขั้นตอนที่ "4"
การทำงานของสแกนเนอร์
1. เทคนิคการสแกนภาพ
- สแกนเนอร์สีแบบสแกนผ่านครั้งเดียว ( One-Pass Scanners)
- สแกนเนอร์สีแบบสแกนผ่านสามครั้ง ( Three-Pass Color Scanners)
ผังการทำงานของสแกนเนอร์ขาวดำ
2. เทคโนโลยีการสแกนภาพ
- แบบ PMT (Photomultiplier Tube)
- แบบ CCD (Charge-Coupled Deiver)
- แบบ CIS (Contact Image Sensor)
3. โปรแกรมควบคุม
4. การบันทึกข้อมูล
- รูปแบบของข้อมูลภาพ (Image Data Type)
- ภาพขาวดำ (Black & White)
- ภาพสีเทา (Grayscale)
- ภาพ 16 และ 256 สีที่ได้กำหนดไว้แล้วในตารางสี ( Indexed 16 and 256-Color)
- ภาพ RGBสีจริง (RGB True Color)
- ภาพ 8 สี (RGB 8-Color)
- ตัวหนังสือ
- รูปแบบของไฟล์รูปภาพมาตรฐาน
ตาราง ตัวอย่างมาตรฐานไฟล์รูปภาพ
รูปแบบ |
คำอธิบาย
|
TIFF
|
(Tagged Image File Format) พัฒนาขึ้นโดย บริษัท Aldus และ Microsolf ในปี 1986เพื่อใช้ร่วมกับสแกนเนอร์แบบตั้งโต๊ะและงานพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ (DTP-Desktop Publisher) รูปแบบของ TIFFที่ยังไม่บีบอัดคือ TIFF แบบธรรมดาจะไม่ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์และโปรแกรม แต่ถ้าเป็น TIFF แบบบีบอัดข้อมูลแล้วจะขึ้นอยู่กับอุปกรณ์และโปรแกรม iPhoto Deluxe สามารถอ่านไฟล์ TIFF แบบบีบอัดส่วนมากได้ และยังสามารถเก็บบันทึกภาพด้วย TIFF แบบบีบอัดได้ โปรแกรมอื่น ๆที่สนับสนุนไฟล์ TIFF ได้แก่ ColorStudio, CoreIDRAW, PageMaker, PC Paintbrush IV Plus, PhotoShop, Piccture Publisher Plus, PowerPoint, PrePrint และ Ventura Publisher เป็นต้น |
TGA
|
(Targa) พัฒนาขึ้นโดยบริษัท TrueVision สำหรับใช้กับอุปกรณ์บอร์ดวีดิโอสีแบบเต็มรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับบอร์ด TARGA นับเป็นรูปแบบของไฟล์ภาพที่ใช้กันเฉพาะในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ |
BMP
|
(Windows Bitmap) ผลิตโดยบริษัท Microsoft เป็นรูปแบบที่ยอมให้วินโดวส์และแอปพลิเคชั่นของวินโดวส์แสดงภาพได้บนอุปกรณ์ต่างๆ รูปแบบนี้สามารถเก็บบันทึกไว้เป็นสี เพื่อนำมาใช้งานในภายหลังได้ เช่นโปรแกรมที่ใช้กับ Windows Paintbrush หรือโปรแกรม Windows เองโดยตรง |
5. การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
- ขนาดของไฟล์ภาพและความคมชัด
- ตั้งค่า Resolution ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
- ขนาดของไฟล์ที่สแกนได้
- เฉดสีหลากหลาย
โปรแกรมที่ใช้กับสแกนเนอร์
1. โปรแกรมไดร์เวอร์สำหรับสแกนเนอร์
เป็นโปรแกรมที่จำเป็นที่สุดในการใช้งานสแกนเนอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมาพร้อม กับอุปกรณ์ โดยอาจจะบรรจุอยู่ในแผ่นดิสก์ติดตั้งแยกต่างหาก หรืออาจรวมมากับโปรแกรม OCR หรือโปรแกรมแต่งภาพก็ได้ ไฟล์ที่ใช้งานมักจะลงท้ายด้วย .sys หรือ .drv เสมอ
2. โปรแกรม OCR
OCR ย่อมาจาก Optical Character Recognition เป็นโปรแกรมที่สามารถจดจำตัว อักษรและสามารถแปลงไฟล์กราฟิกหรือไฟล์รูปภาพ(Graphic File)ให้เป็นไฟล์ตัวอักษร (text File)ได้ ช่วยให้ไม่ต้องพิมพ์ข้อความต่างๆที่มีอยู่ซ้ำด้วยแป้นพิมพ์ เพียงแต่สแกนด้วยสแกนเนอร์ แล้วใช้คำสั่งที่มีอยุ่ในโปรแกรมแปลงภาพที่ต้องการเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ในรูปแบบของไฟล์ตัวอักษร ก็สามารถเรียกไฟล์ดังกล่าวออกมาดู แก้ไข ดัดแปลง โดยใช้โปรแกรมเวิร์ดโปรเซสเซอร์ใดๆก็ได้ ช่วยลดงานพิมพ์ลงเป็นจำนวนมาก ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายลงได้ โปรแกรมเหล่านี้มักจะมีคำว่า OCR เป็นส่วนประกอบของชื่อโปรแกรมอยู่ด้วย เช่น โปรแกรม ReadiRis OCR โปรแกรม ThaiOCR และ โปรแกรม Recognita GO_CR เป็นต้น โปรแกรม OCR นอกจากจะใช้คู่กับสแกนเนอร์แล้ว ยังพบอยู่กับโปรแกรมที่ใช้คู่กับ Fax/Modemอีกด้วย ทั้งนี้เพราะสามารถใช้เครื่องส่งโทรสารหรือเครื่องส่งแฟ็กซ์ แทนสแกนเนอร์ได้ หรือจะเรียกเครื่องโทรสารเป็นสแกนเนอร์ชนิดได้ โปรแกรมแฟ็กซ์/โมเด็มที่กล่าวถึงได้แก่ โปรแกรม QuickLink Gold โปรแกรม WinFax Pro โปรแกรม SuperFax โปรแกรม UltraFax เป็นต้น
3. โปรแกรมแต่งภาพและจัดอัลบัมภาพ
เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับตกแต่งภาพที่ได้จากการสแกน และภาพจากไฟล์กราฟิกที่มี นามสกุลต่าง ๆ เช่น TIF, BMP, PCX, TGA, GIF, SPG, CGM, EPS, PCD, WMF ฯลฯ ชื่อโปรแกรมมักมีคำว่า Photo หรือ Image ร่วมอยู่ด้วย เช่น โปรแกรม iPhoto Deluxe โปรแกรม ImagePro โปรแกรม ImagePals! Go! เป็นต้น แต่ก็อาจจะไม่มีคำดังกล่าวก็ได้ เช่น โปรแกรม Finishing TOUCH เป็นต้น โปรแกรมกราฟิกและโปรแกรมสำหรับทำ Presentation ก็มักจะมีคำสั่ง Scan สำหรับใช้กับสแกนเนอร์ด้วยเช่นกัน เช่น โปรแกรม CorelDraw! เป็นต้น
ประเภทของภาพที่เกิดจากการสแกน แบ่งเป็นประเภทดังนี้
1. ภาพ Single Bit
ภาพ Single Bit เป็นภาพที่มีความหยาบมากที่สุดใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูล น้อยที่สุดและ นำมาใช้ประโยชน์อะไรไ่ม่ค่อยได้ แต่ข้อดีของภาพประเภทนี้คือ ใช้ทรัพยากรของเครื่องน้อยที่สุดใช้พื้นที่ ในการเก็บข้อมูลน้อยที่สุด ใช้ระยะเวลาในการสแกนภาพน้อยที่สุด Single-bit แบ่งออกได้สองประเภทคือ
- Line Art ได้แก่ภาพที่มีส่วนประกอบเป็นภาพขาวดำ ตัวอย่างของภาพพวกนี้ ได้แก่ ภาพที่ได้จากการสเก็ต
- Halftone ภาพพวกนี้จะให้สีที่เป็นโทนสีเทามากกว่า แต่โดยทั่วไปยังถูกจัดว่าเป็นภาพประเภท Single-bit เนื่องจากเป็นภาพหยาบๆ
2. ภาพ Gray Scale
ภาพพวกนี้จะมีส่วนประกอบมากกว่าภาพขาวดำ โดยจะประกอบด้วยเฉดสีเทาเป็นลำดับขั้น ทำให้เห็นรายละเอียดด้านแสง-เงา ความชัดลึกมากขึ้นกว่าเดิมภาพพวกนี้แต่ละพิกเซลหรือแต่ละจุดของภาพอาจประกอบด้วยจำนวนบิตมากกว่า ต้องการพื้นที่เก็บข้อมูลมากขึ้น
3. ภาพสี
หนึ่งพิกเซลของภาพสีนั้นประกอบด้วยจำนวนบิตมหาศาล และใช้พื้นที่เก็บข้อมูลมาก ควาามสามารถในการสแกนภาพออกมาได้ละเอียดขนาดไหนนั้นขึ้นอยู่กับว่าใช้สแกนเนอร์ขนาดความละเอียดเท่าไร
4. ตัวหนังสือ
ตัวหนังสือในที่นี้ ได้แก่ เอกสารต่างๆ เช่น ต้องการเก็บเอกสารโดยไม่ต้อง พิมพ์ลงในแฟ้มเอกสารของเวิร์ดโปรเซสเซอร์ ก็สามารถใช้สแกนเนอร์สแกนเอกสาร ดังกล่าว และเก็บไว้เป็นแฟ้มเอกสารได้ นอก จากนี้ด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันสามารถใช้ โปรแกรมที่สนับสนุน OCR (Optical Characters Reconize) มาแปลงแฟ้มภาพเป็น เอกสารดังกล่าวออกมาเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถแก้ไขได้
Barcode Scanner หรือ เครื่องอ่านบาร์โค้ด คือ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านข้อมูลที่อยู่ในแท่งบาร์โค้ด แล้วแปลงให้เป็นข้อมูลที่สามารถเข้าใจได้โดยคอมพิวเตอร์
หน้าที่ของเครื่องอ่านบาร์โค้ด
1. หา Elements ที่ถูกต้องของ Bar และ Space2. กำหนดส่วนกว้างของแต่ละ Bar และ Space
3. จัดกลุ่มของบาร์โค้ดที่อ่านเข้ามา
4. นำ Element Widths เปรียบเทียบกับรูปแบบตารางบาร์โค้ด
5. ตรวจสอบ Start/Stop Characters เวลาที่มีการอ่านกลับทิศทาง
6. ยืนยัน Quiet Zone ทั้งสองข้างของบาร์โค้ด
7. ยืนยันความถูกต้องของ Check Characters
หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค๊ด
1. เครื่องอ่าน (Reader) ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค๊ด
2. รับแสงที่สะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค๊ด
3. เปลี่ยนปริมาณแสงที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า
4. เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นข้อมูลที่นำไปใช้งานได
1. เครื่องอ่าน (Reader)
ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด หรือ แหล่งกำเนิดแสง (Light Source) ภายในเครื่องอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด และกวาดแสงอ่านผ่านแท่งบาร์
2. รับแสงที่สะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค๊ด
ฉายการอ่านบาร์โค้ดจะใช้หลักการสะท้อนแสงกลับมาที่ตัวรับแสง
3. เปลี่ยนปริมาณแสงที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า
ภายในเครื่องอ่านบาร์โค้ดจะมีอุปกรณ์เปลี่ยนปริมาณแสง ที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า
4. เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นข้อมูลที่นำไปใช้งานได้
สัญญาณไฟฟ้าจะไปเปรียบเทียบกับตารางบาร์โค้ดที่ ตัวถอดรหัส (Decoder) และเปลี่ยนให้เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้งานได้
สรุปหลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด
เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด แล้วรับแสงที่สะท้อนกลับจากแท่งบาร์โค้ด ซึ่ง Space จะสะท้อนแสงได้ดีกว่าแท่งBar จากนั้นปริมาณแสงสะท้อนจะถูกเปลี่ยนไปเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า แล้วถูกส่งต่อไปยังตัวถอดรหัส (Decoder) และแปลงให้เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้งานได้
ประเภทของเครื่องอ่านบาร์โค้ด
เครื่องอ่านบาร์โค้ด จำแนกออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ คือ เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบสัมผัส และ เครื่องอ่านบาร์โค้ด ไม่สัมผัส และยังสามารถแยกประเภทตามลักษณะการเคลื่อนย้ายได้ โดยแบ่งกลุ่มเป็นเครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable) และ เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบยึดติดกับที่(Fixed Positioning Scanners)
เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable) เครื่องอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ส่วนมากจะมีหน่วยความจำในตัวเอง
เพื่อเก็บข้อมูลที่อ่านหรือบันทึกด้วยปุ่มกดสามารถนำอุปกรณ์ไปใช้ได้ง่ายโดยสามารถพกพาได้
การอ่านรหัสแต่ละครั้งจะนำเอาเครื่องอ่านเข้าไปยังตำแหน่งที่สินค้าอยู่
ส่วนมากเครื่องอ่านลักษณะนี้จะมีน้ำหนักเบา
ส่วนแบบที่ไม่มีหน่วยความจำในตัวเองจะทำงานแบบไร้สายเหมือนโทรศัพท์ไร้สายที่ใช้ภายในบ้านซึ่งมีข้อจำกัดเรื่องระยะทาง
เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบยึดติดกับที่ (Fixed Positioning Scanners)
เครื่องอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ส่วนมากจะติดตั้งกับด้านข้าง หรือตำแหน่งใดๆ ที่เหมาะสมในแนวทางวิ่งของสายพานลำเลียง เพื่ออ่านรหัสที่ติดกับบรรจุภัณฑ์และเคลื่อนที่ผ่านไปตามระบบสายพานลำเลียง บางครั้งเครื่องอ่านประเภทนี้จะติดตั้งภายในอุปกรณ์ของระบบสายพานลำเลียงเพื่อให้สามารถอ่านได้โดยอัตโนมัติ อีกรูปแบบที่เราเห็นกันมาก จะฝังอยู่ที่โต๊ะแคชเชียร์ ตามห้างสรรพสินค้า โดยแคชเชียร์จะนำสินค้าด้านที่มีบาร์โค้ดมาจ่อหนาเครื่องอ่านที่ถูกฝังไว้กับโต๊ะ หรือตั้งไว้ด้านข้าง เครื่องอ่านจะทำการอ่านบาร์โค้ดโดยอัตโนมัติ เมื่อมีวัตถุเคลื่อนไหวอยู่ข้างหน้าตัวเครื่อง
เครื่องอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ส่วนมากจะติดตั้งกับด้านข้าง หรือตำแหน่งใดๆ ที่เหมาะสมในแนวทางวิ่งของสายพานลำเลียง เพื่ออ่านรหัสที่ติดกับบรรจุภัณฑ์และเคลื่อนที่ผ่านไปตามระบบสายพานลำเลียง บางครั้งเครื่องอ่านประเภทนี้จะติดตั้งภายในอุปกรณ์ของระบบสายพานลำเลียงเพื่อให้สามารถอ่านได้โดยอัตโนมัติ อีกรูปแบบที่เราเห็นกันมาก จะฝังอยู่ที่โต๊ะแคชเชียร์ ตามห้างสรรพสินค้า โดยแคชเชียร์จะนำสินค้าด้านที่มีบาร์โค้ดมาจ่อหนาเครื่องอ่านที่ถูกฝังไว้กับโต๊ะ หรือตั้งไว้ด้านข้าง เครื่องอ่านจะทำการอ่านบาร์โค้ดโดยอัตโนมัติ เมื่อมีวัตถุเคลื่อนไหวอยู่ข้างหน้าตัวเครื่อง
เครื่องอ่านบาร์โค้ดประเภทนี้ เป็นอุปกรณ์ที่เวลาอ่าน ต้องสัมผัสกับผิวหน้าของรหัสแท่ง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
-
เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบปากกา (Pen Scanner) หรือแวนด์ (Wand) เป็นเครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่มีลักษณะเหมือนหัวปากกา โดยมีปลายปากกาเป็นอุปกรณ์สำหรับผลิตลำแสงเพื่ออ่านข้อมูล น้ำหนักเบา พกพาสะดวก มีข้อจำกัดเรื่องคุณภาพฉลากต้องดีมาก เพราะหัวอ่านที่สัมผัสบนรหัสแท่งอาจจะทำให้รหัสลบหรือเสียหายได้ เหมาะสำหรับอ่านบาร์โค้ดบนเอกสารหรือคูปอง
-
เครื่องอ่านบัตร (Slot Scanner)เป็น เครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่ใช้อ่านรหัสแท่งจากบัตรหรือวัสดุอื่น โดยต้องรูดบัตรที่มีบาร์โค้ดนั้นลงในช่องเพื่ออ่านข้อมูล เหมาะสำหรับรูดบัตรที่มีบาร์โค้ด อ่านรหัสบาร์โค้ดจากบัตรประจำตัว เพื่อบันทึกเวลาหรือดูข้อมูลต่างๆ ด้วยตัวเจ้าของบัตรเอง
เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบไม่สัมผัส (Non Contact Scanner)
เป็น เครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่มีหลายรูปแบบจากแบบง่ายๆ ที่ลักษณะคล้ายปีนที่เห็นตามร้านค้าปลีก จนถึงระบบแบบ Pocket PC สามารถอ่านโดยห่างจากรหัสแท่งได้ ทำให้ทำงานได้รวดเร็ว ง่ายและสะดวก โดยแบ่งเป็นหลายชนิดดังนี้
เป็น เครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่มีหลายรูปแบบจากแบบง่ายๆ ที่ลักษณะคล้ายปีนที่เห็นตามร้านค้าปลีก จนถึงระบบแบบ Pocket PC สามารถอ่านโดยห่างจากรหัสแท่งได้ ทำให้ทำงานได้รวดเร็ว ง่ายและสะดวก โดยแบ่งเป็นหลายชนิดดังนี้
-
เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบ CCD (Charge Coupled Device Scanner) เครื่องอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ เป็นเครื่องอ่านราคาถูก การทำงานจะอาศัยการสะท้อนของแสงจากรหัสแท่งและช่องว่างแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณวีดีโอ เครื่องอ่านแบบนี้ในขณะอ่านจะไม่มีการเคลื่อนที่ชิ้นส่วน ความแม่นยำจะสูงกว่าแบบเลเซอร์ ใช้พลังงานน้อย อายุการใช้งานของอุปกรณ์ในการสร้างลำแสง (LED) จะยาวนานกว่าเครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบนี้ยังเป็นแบบตัดวงจรไฟอัตโนมัติในกรณีที่ไม่มีการใช้งาน
-
เครื่องอ่านบาร์โคดแบบ Linear Imaging โดย เครื่องอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ เป็นเครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่ใช้หลักการอ่านโดยวิธีจับภาพโดยเลนซ์รับภาพเช่นเดียวกับกล้องถ่ายรูป ทำให้ระบบหัวอ่านมีความสามารถในการอ่านในเชิงเรขาคณิตสูงกว่าเครื่องอ่านแบบ CCD สามารถอ่านบาร์โค้ดขนาดเล็กมากๆได้ เนื่องจากใช้การอ่านด้วยตัวเลนซ์รับภาพทำให้จับภาพได้ระยะไกลขึ้น อ่านได้เร็วถึง 100-450 scan ต่อวินาที ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบ Linear Imaging มีความสามารถในการอ่านและความเร็วในการอ่านเหนือว่าการอ่านแบบ CCD แต่มีความทนทานเหมือนกัน และอ่านในระยะไกลได้เทียบเท่ามาตรฐานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเลเซอร์
-
เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบเลเซอร์ ( Laser Scanner) เครื่องอ่านบาร์โค้ด ชนิดนี้มีวิธีการทำงาน คือเมื่อกดปุ่มอ่านรหัสจะเกิดลำแสงเลเซอร์ซึ่งมีกระจกเงาเคลื่อนที่มารับแสงแล้วสะท้อนไปตกกระทบกับรหัส และผ่านเป็นแนวเส้นตรงเพียงครั้งเดียว ลำแสงที่ยิงออกมาจะมีขนาดเล็กด้วยความถี่เดียว ไม่กระจายออกไปนอกเขตที่ต้องการทำให้สามารถอ่านรหัสที่มีขนาดเล็กได้ดี
- เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเลเซอร์ชนิดเส้นเดี่ยว ( Single Line laser Scanner)
- เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเลเซอร์ชนิดหลายเส้น ( Multiple Line Laser Scanner)
เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบเลเซอร์ชนิดอ่านหลายเส้นหลายทิศทาง(Omni-Direction) เป็นแสงเลเซอร์ มากกว่า 10 เส้นอยู่ในแนวขนานและตัดกันไปมาเหมือนตาข่ายทำให้สามารถอ่านบาร์โค้ดได้หลายทิศทาง
มาตรฐาน บาร์โค้ดประเภทต่างๆ
บาร์โค้ดมีหลากหลายมาตรฐานในการจัดทำ สิ่งที่เหมือนกัน คือ รูปร่างเป็นแท่งขาวสลับดำ ที่มีความห่างแตกต่างกันแต่สิ่งที่แตกต่างคือ ขนาดของความยาว,ความสามารถในแปลตัวอักษร บางชนิดอาจจะแต่ตัวเลข บางชนิดใช้ได้
ทั้งตัวเลขและตัวอักษร
การเลือกใช้มาตรฐานบาร์โค้ด
เริ่มต้นจากธุรกิจ ก็ต้องดูที่คู่ค้า ที่ต้องมีการใช้โค้ดร่วมกัน มีการใช้แบบเจาะจง เราใช้ตามคู่ค้าของเราก็ยอมเป็นผลดี
ต่อการใช้งานร่วมกัน
แต่หากใช้เฉพาะภายในองค์กร ก็แล้วแต่ ผู้ที่รับผิดชอบจะตัดสินใจว่าจะใช้แบบใด บางมาตรฐานจะต้องมีformatตายตัว
บางครั้งใช้งานไม่สะดวก บางแบบมีformatที่ยืดหยุ่นผู้ใช้สามารถเลือกพิมพ์ด้ามต้องการก็มี มาตรฐานกับงานที่นิยมใช้มีดังนี้
1. สำหรับสินค้าปลีก,ซุปเปอร์มาร์เก็ต : UPC,EAN,ISBN-13
2. ไปรษณีย์ (อเมริกา) : POSTNET
3. สำหรับงานลอจิสติก ชิบปิ้ง สินค้าคงคลัง การกระจายสินค้า : Code128,Code39,Interleaved 2of5 (ITF)
มาตรฐานบาร์โค้ด 1D
1. 2 of 5 (non-interleaved)
ปัจจุบันพบน้อยมาก ยังมีการใช้อยู่บ้าง เช่น ตั๋วสายการบิน ห้องแลบภาพ 2 of 5 เป็นโค้ดที่ใช้ในการเข้ารหัสข้อมูลที่เก่าแก่ที่สุด
2 of 5 (non-interleaved) และ 2 of 5 (interleaved) หลายคนมักสับสน เพราะ 2 of 5 (interleaved) ยังมีความนิยมแพร่หลายอยู่
ซึ่งถือว่า เป็นคนละโค้ดกัน และเครื่องหรือโปรแกรมอาจจะไม่สนับสนุน ดังนั้นต้องดูให้แน่ใจว่าเป็น non-interleaved หรือ interleaved
2. bookland
เป็นบาร์โค้ดรุ่นเก่าที่ใช้กับพวกหนังสือ ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย ISBN-13 บางครั้งสองคำนี้จะใช้เรียกแทนกัน
3. Codabar
เป็นบาร์โค้ด ที่ใช้ใน FED-EX,ห้องสมุด,ธนาคารเลือด
4. Code 128
จัดเป็นโค้ดที่มีความนิยมมาก มันมีความหนาแน่น กะทัดรัด การบีบข้อมูล ที่ดีกว่า Code39
Code 128 สามารถสนันสนุน ได้ 128 ASCII ตัว(ทั้งตัวเลขและอักษร) นิยมใช้ในงานชิบปิ้ง
มีการแบ่งกลุ่มเป็น3แบบคือ
set A : ASCII characters 00 to 95 (0-9, A-Z and control codes), special characters, and FNC 1-4
set B : ASCII characters 32 to 127 (0-9, A-Z, a-z), special characters, and FNC 1-4
set C : 00-99 (encodes each two digits with one code) and FNC1
หากต้องใช้ ตัวอักษร และ/หรือ ตัวเลข Code128 จึงที่เป็นที่เหมาะสมในการนำมาใช้งาน อีกทั้งมีความยืดหยุ่น
ในการบรรจุตัวอักขระ เพราะไม่ล๊อคตายตัว สามารถพิมพ์อักษรหรือตัวเลขที่ต้องการได้เลย
5. Code 39 (Code 3 of 9)
เป็นโค้ดรุ่นเก่า แต่ยังมีความนิยมในการใช้งานอยู่ ใช้กับงาน Inventory และตรวจติดตาม สามารถบรรจุได้ทั้งตัวเลขและ
ตัวอักษร สามารถพิมพ์ได้หลายขนาด โดยแบบพื้นฐานจะรองรับอักษร A-Z ,0-9
6. Code 93
เป็นโค้ดที่ไม่ค่อยมีการใช้งาน ขนาดกะทัดรัด ใช้ในงานชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิค และเนื่องจาก ชื่อที่คล้ายคลึงระหว่าง
Code 93 และ Code 39 ซึ่งทำให้เข้าใจผิดได้ ดังนั้นหากมีการใช้งานในโค้ดดังกล่าว จะตัดซื้ออุปกรณ์หรือซอฟแวร์
ต้องแน่ใจว่า ตรงกับที่จะใช้งาน
7. EAN
EAN ย่อมาจาก European Article Number นิยมใช้กับสินค้าปลีก ใน สหรัฐ และ ญี่ปุ่น และแพร่หลายในอุตสาหกรรมค้าปลีก
ทั่วโลก
8. GS1-128 (EAN-128)
GS1-128 เป็นโค้ดพิเศษ ของ Code128 ที่มีการถอดรหัสกับระบบ GS1
9. Interleaved 2 of 5 (ITF)
เป็นโค้ดที่เป็น ตัวเลขเท่านั้น มีขนาดเล็ก เพราะมีการเข้ารหัสทั้งในแถบและช่องว่าง ใช้ในกล่องกระดาษลูกฟูกในอุตสาหกรรม
ขนส่งสินค้า
10. ISBN-13
เป็นโค้ดค้าปลีก พวกหนังสือ นิตยสาร หรือผลิตภัณฑ์อื่นที่เกี่ยวกับหนังสือ โดยมีส่วนประกอบจาก EAN13และ supplemental code
5ตัว ซึ่งจะแสดง IDของหนังสือและราคาปก
11. ISSN
ใช้ในอุตสาหกรรมงานพิมพ์ วารสารอิเล็กทรอนิค
12. MSI Plessey
ตัวเลขสัญลักษณ์ ที่ใช้ในห้องสมุด
13.POSTNET
บาร์โค้ดที่ใช้ในการเข้ารหัสรหัสไปรษณีย์ของไปรษณีย์สหรัฐ ซึ่งมีแตกต่างจากบาร์โค้ดอื่น ๆ
มีความพิเศษที่แตกต่าง คือ จะมีความสูงของแท่งไม่เท่ากันและระยะห่างระหว่างแถบเท่ากัน
ซึ่งบรรจุึข้อมูลของรหัสไปรษณีย์และพื้นที่จัดส่ง
14. UPC
UPC ย่อมาจาก Universal Product Code ใช้มากกับสินค้าปลีกในสหรัฐและแคนนาดา อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
15. Supplemental barcode
เป็นโค้ดที่เพิ่มเติมทางด้านขวา พบใน UPC, EAN หรือ ISBN-13 จะเป็นตัวอักขระที่เพิ่มมา2-5ตัว
มาตรฐานบาร์โค้ด 2D
1. QR-Code
QR (Quick Response) ประดิษฐ์คิดค้นโดย บริษัท เด็นโซ่เวฟ จัดเป็นบาร์โค้ดยอดนิยม ที่เครื่องอ่าน2Dทั่วไปทุกยี่ห้อ
สามารถสแกนได้ มักจะอ่านได้ดี และโปรแกรมsmartphoneหลายตัวก็สามารถอ่านได้ เรียกว่าสามารถอ่านได้ง่าย ซึ่งเราจะเคยพบสิ่งพิมพ์
ลงในสื่อต่างๆเมื่อสแกนมาก็เป็นที่อยู่เว็บ มีความหนาแน่นสูง ทำให้บรรจุอักษรได้มาบนพื้นที่เล็กๆ ขนาดจะเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส ทำให้พื้นที่น้อย
และไม่ต้องมีFormatในการบรรจุข้อมูล สามารถใส่ได้ตามต้องการ
2. MaxiCode
ประกอบด้วย จุดเหมือนรังผึ้ง รอบๆกระจาย วงกลมตรงกลาง พบในการใช้ส่งพัสดุของสหรัฐ ต้องใส่ข้อมูลลงตาม Formatที่กำหนด
3. PDF417
คิดค้นโดย Symbol Technologies บรรจุได้ถึงประมาณ 1100ตัว มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีแถบเริ่มต้นและแถบปิดท้าย
ทำให้กินพื้นที่มากขึ้นกว่าโค้ดอื่นๆ ไม่ต้องมีFormatในการบรรจุข้อมูล สามารถใส่ได้ตามต้องการ
4. Data Matrix
หากดูผิวเผินจะคล้ายกับ Qr code แต่จริงๆแล้วไม่เหมือนกัน การอ่านและถอดรหัสจะทำในเส้นทแยงมุุม(QR จะอ่านตามแนวตรง)
พบในผลิตภัณฑ์จากทางสหรัฐและยุโรป จุดอ่อน คือ ต้องใส่ข้อมูลลงตาม Formatที่กำหนด
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
http://www.esssyntech.com/index.php/Products-Knowledge/barcode-scanner-knowledge.html
http://www.telzel.com/know4.html
http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=2079&read=true&count=true
http://www.prakan.ac.th/Link-Data/web-it/data/web%20dream/scanner.htm
วันพุธที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ประเภทของปริ้นเตอร์เเละหลักการทำงาน
ประเภทของ printer แบบต่างๆ และการใช้งาน
1. Dotmatrix printer เครื่องพิมพ์ประเภทนี้ในสมัยก่อนเคยเป็นที่นิยม ลักษณะการพิมพ์เป็นแบบใช้หัวเข็ม และไม่ได้ใช้ตลับหมึกแต่ใช้ผ้าหมึกแทน
1.สามารถพิมพ์ครั้งเดียวได้ หลาย ๆ แผ่น หรือหลาย COPY ถือว่าเป็นลักษณะเด่นของเครื่องพิมพ์แบบนี้
1.พิมพ์งานกราฟฟิค ที่มีความละเอียดมาก หรือพิมพ์ภาพสี ไม่ได้
2. Inkjet printer
เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทนี้ ในปัจจุบันค่อนข้างได้รับความนิยมค่อนข้างมาก
เนื่องจากราคาที่ไม่สูงจนเกินไป คุณภาพงานพิมพ์เป็นที่ยอมรับ
และการใช้งานได้ค่อนข้างหลากหลาย ลักษณะการพิมพ์
จะเป็นการพ่นหมึกพิมพ์เป็นหยดๆ ลงบนกระดาษ
การใช้งาน สามารถพิมพ์งานได้หลากหลาย เอกสาร, ภาพถ่าย, โปสการ์ด แต่โดยทั่วไปมักมีขนาดไม่เกิน A3 และมีสินค้าให้เลือกหลายรุ่นตามระดับราคา และฟังก์ชันที่ต้องการ
หลักการทำงานของเครื่องพิมพ์ Inkjet Printer
เครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีพ่นน้ำหมึกลงไปบนวัตถุงาน โดยหมึกจะถูกฉีดออกจากรูขนาดเล็กบนหัวพิมพ์ ซึ่งหมึกที่ใช้จะเป็นแม่สี 3 สี คือ แดง เหลือง และน้ำเงิน บางเครื่องจะใช้ 2 กล่อง คือ น้ำหมึกสีดำกับตัวแม่สี สามารถพิมพ์ได้เร็ว คือ ประมาณ 9 ppm
- สามารถพิมพ์บนผิววัสดุอื่นๆ นอกจากบนกระดาษได้ เช่น แผ่นใส สติ๊กเกอร์
- ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะส่งข้อมูลให้เป็นรูปแบบที่เครื่องพิมพ์สามารถเข้าใจได้
- ไดรฟ์เวอร์จะส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่องพิมพ์ ผ่านอุปกรณ์เชื่อมต่อ
- เครื่องพิมพ์จะรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์และทำการเก็บข้อมูลนั้นไว้ในบัฟเฟอร์ ซึ่งอยู่ในหน่วยความจำ RAM ขนาดตั้งแต่ 512 KB จนถึง 16 KB ขึ้นอยู่กับรุ่น
- หากเครื่องพิมพ์ไม่ตอบสนองการทำงานในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อาจเป็นเพราะเครื่องกำลังเข้าสุ่วงรอบของการทำความสะอาดหัวพิมพ์แบบสั้นๆ
- เมื่อกระดาษผ่านเข้าไปในเครื่องคอมพิมพ์ จะเริ่มพิมพ์จากตำแหน่งเริ่มต้นของหน้าแรก สเต็ปเปอร์มอเตอร์หัวพิมพ์จะบังคับสายพานให้เลื่อนชุดหิวพิมพ์ไปมาอย่างเป็นจังหวะ
- การพิมพ์ของอิงก์เจ็ต จะพิมพ์ทีละจุด ทีละแถบเรียงต่อเนื่องติดกันไปบนกระดาษ ซึ่งหัวพิมพ์จะฉีดหมึกในโหมดสี CMYK ได้อย่างแม่นยำ
- เมื่อสิ้นสุดการพ่นหมึกในหนึ่งแถวกระดาษ เครื่องก็จะเลื่อนกระดาษขึ้นพิมพ์แถวต่อมา
- กระบวนการนี้จะดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งพิมพ์เสร็จหมดทั้งหน้า
- เมื่อการพิมพ์เสร็จสมบูรณ์ หัวพิมพ์จะหยุด สเต็ปเปอร์มอเตอร์ที่ดึงกระดาษจะหมุนลุกกลิ้งผลักกระดาษที่พิมพ์เสร็จแล้วออกไปด้านหน้าเครื่องพิมพ์
3. Laser printer ลักษณะการพิมพ์ของ printer ประเภทนี้ ใช้เทคโนโลยีเดียวกับเครื่องถ่ายเอกสาร คือยิงเลเซอร์ไปสร้างภาพบนกระดาษในการสร้างรูปภาพ หรือตัวอักษร ซึ่งผลลัพธ์ที่ออกมาจะมีคุณภาพสูงมากกว่าเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก
การใช้งาน เหมาะสำหรับการพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพที่สูงมากขึ้น เอกสารสำคัญต่างๆ หรืองานที่ต้องการความคมชัดและสวยงามมากกว่าการพิมพ์อิงค์เจ็ทโดยทั่วไป แต่เครื่อง print ประเภทนี้มีราคาสูง และต้นทุนในการใช้งานและบำรุงรักษาก็สูงมากขึ้นด้วย
หลักการทำงานเครื่องพิมพ์ Laser
3. พิมพ์ลงบนกระดาษใช้หลักไฟฟ้าสถิตเช่นเดียวกันโดยลูกกลิ้งที่ทำให้กระดาษเป็นประจุลบ ผงหมึกประจุบวกบน drum จะพิมพ์ติดบนกระดาษ จากนั้นจะผ่านความร้อนทำให้หมึกละลาย Fuser ให้หมึกที่มีส่วนผสมของอนูของสีและพลาสติกละลายเกาะติดกระดาษอย่างแน่นหนาและไม่หลุดลอก(เราจะรู้สึกว่ากระดาษอุ่นเมื่อพิมพ์ออกมาเสร็จใหม่ๆ)
1. Dotmatrix printer เครื่องพิมพ์ประเภทนี้ในสมัยก่อนเคยเป็นที่นิยม ลักษณะการพิมพ์เป็นแบบใช้หัวเข็ม และไม่ได้ใช้ตลับหมึกแต่ใช้ผ้าหมึกแทน
การใช้งาน มักใช้พิมพ์งานที่ต้องการทำสำเนา
เนื่องจากเครื่องพิมพ์ลักษณะนี้มีแรงกด และสามารถพิมพ์กระดาษต่อเนื่องได้
และอายุการใช้งานค่อนข้างนาน
แต่มีข้อเสียอยู่ที่คุณภาพงานพิมพ์ต่ำเมื่อเทียบกับ printer ประเภทอื่นๆ
และมีเสียงดังขณะพิมพ์งาน
หลักการทำงานของเครื่องพิมพ์ Dot Matrix Printer
เป็นเครื่องพิมพ์ชนิดแรกที่ถูกผลิตขึ้นมาใช้งาน
แต่ปัจจุบันจะใช้งานบางประเภทเท่านั้น
หลักการทำงานใช้ระบบหัวเข็มยิงกระแทกผ่านผ้าหมึกไปยังกระดาษ
ภาพที่เกิดขึ้นเกิดจากสีของน้ำหมึกที่ซึมอยู่ในผ้าหมึก เหมาะสำหรับงานที่
มีแต่ตารางและตัวหนังสือ และงานที่ต้องการสำเนาที่เกิดขึ้นพร้อมต้นฉบับ
เช่น บิล หรือ รายงาน ต่าง ๆ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้สามารถสรุปข้อดี-ข้อเสีย
ได้ดังนี้คือ
ข้อดี
1.สามารถพิมพ์ครั้งเดียวได้ หลาย ๆ แผ่น หรือหลาย COPY ถือว่าเป็นลักษณะเด่นของเครื่องพิมพ์แบบนี้
2.ประหยัดผ้าหมึกและผ้าหมึกมีราคาถูก และยังใช้ได้กับกระดาษต่อเนื่อง หรือ ชนิดแผ่นก็ได้
3.อะไหล่ และ ค่าซ่อมมีราคาไม่สูงมาก
4.มีความแข็งแรงทนทานในการใช้งานสูง
ข้อเสีย
1.พิมพ์งานกราฟฟิค ที่มีความละเอียดมาก หรือพิมพ์ภาพสี ไม่ได้
2.พิมพ์งานได้ช้า และมีเสียงดัง
3.มีขนาดใหญ่ น้ำหนักมาก และ กินกระแสไฟฟ้ามาก
4.ในปัจจุบันราคาค่อนข้างสูง
ในปัจจุบันมีหลายยี่ห้อ เช่น Epson, Oki, Nec, Fujisu เป็นต้น
2. Inkjet printer
เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทนี้ ในปัจจุบันค่อนข้างได้รับความนิยมค่อนข้างมาก
เนื่องจากราคาที่ไม่สูงจนเกินไป คุณภาพงานพิมพ์เป็นที่ยอมรับ
และการใช้งานได้ค่อนข้างหลากหลาย ลักษณะการพิมพ์
จะเป็นการพ่นหมึกพิมพ์เป็นหยดๆ ลงบนกระดาษการใช้งาน สามารถพิมพ์งานได้หลากหลาย เอกสาร, ภาพถ่าย, โปสการ์ด แต่โดยทั่วไปมักมีขนาดไม่เกิน A3 และมีสินค้าให้เลือกหลายรุ่นตามระดับราคา และฟังก์ชันที่ต้องการ
หลักการทำงานของเครื่องพิมพ์ Inkjet Printer
เครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีพ่นน้ำหมึกลงไปบนวัตถุงาน โดยหมึกจะถูกฉีดออกจากรูขนาดเล็กบนหัวพิมพ์ ซึ่งหมึกที่ใช้จะเป็นแม่สี 3 สี คือ แดง เหลือง และน้ำเงิน บางเครื่องจะใช้ 2 กล่อง คือ น้ำหมึกสีดำกับตัวแม่สี สามารถพิมพ์ได้เร็ว คือ ประมาณ 9 ppm
คุณลักษณะเด่นของเครื่องพิมพ์แบบนี้คือ
- สามารถพิมพ์ภาพสีได้ โดยมีตลับหมึกสีแยกอิสระ สามารถถอดเปลี่ยนใหม่ได้ - คุณภาพการพิมพ์คมชัดกว่าแบบใช้หัวเข็ม ให้ความละเอียดสูง เหมาะสมสำหรับงานด้านกราฟิค และงานด้านการนำเสนอ- สามารถพิมพ์บนผิววัสดุอื่นๆ นอกจากบนกระดาษได้ เช่น แผ่นใส สติ๊กเกอร์
หลักการทำงาน
เมื่อเราทำการสั่งพิมพ์ด้วยการกดคลิกที่ปุ่ม OK ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์จะเกิดกระบวนการทำงานเป็นลำดับต่อเนื่องดังนี้- ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะส่งข้อมูลให้เป็นรูปแบบที่เครื่องพิมพ์สามารถเข้าใจได้
- ไดรฟ์เวอร์จะส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่องพิมพ์ ผ่านอุปกรณ์เชื่อมต่อ
- เครื่องพิมพ์จะรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์และทำการเก็บข้อมูลนั้นไว้ในบัฟเฟอร์ ซึ่งอยู่ในหน่วยความจำ RAM ขนาดตั้งแต่ 512 KB จนถึง 16 KB ขึ้นอยู่กับรุ่น
- หากเครื่องพิมพ์ไม่ตอบสนองการทำงานในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อาจเป็นเพราะเครื่องกำลังเข้าสุ่วงรอบของการทำความสะอาดหัวพิมพ์แบบสั้นๆ
- เมื่อกระดาษผ่านเข้าไปในเครื่องคอมพิมพ์ จะเริ่มพิมพ์จากตำแหน่งเริ่มต้นของหน้าแรก สเต็ปเปอร์มอเตอร์หัวพิมพ์จะบังคับสายพานให้เลื่อนชุดหิวพิมพ์ไปมาอย่างเป็นจังหวะ
- การพิมพ์ของอิงก์เจ็ต จะพิมพ์ทีละจุด ทีละแถบเรียงต่อเนื่องติดกันไปบนกระดาษ ซึ่งหัวพิมพ์จะฉีดหมึกในโหมดสี CMYK ได้อย่างแม่นยำ
- เมื่อสิ้นสุดการพ่นหมึกในหนึ่งแถวกระดาษ เครื่องก็จะเลื่อนกระดาษขึ้นพิมพ์แถวต่อมา
- กระบวนการนี้จะดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งพิมพ์เสร็จหมดทั้งหน้า
- เมื่อการพิมพ์เสร็จสมบูรณ์ หัวพิมพ์จะหยุด สเต็ปเปอร์มอเตอร์ที่ดึงกระดาษจะหมุนลุกกลิ้งผลักกระดาษที่พิมพ์เสร็จแล้วออกไปด้านหน้าเครื่องพิมพ์
3. Laser printer ลักษณะการพิมพ์ของ printer ประเภทนี้ ใช้เทคโนโลยีเดียวกับเครื่องถ่ายเอกสาร คือยิงเลเซอร์ไปสร้างภาพบนกระดาษในการสร้างรูปภาพ หรือตัวอักษร ซึ่งผลลัพธ์ที่ออกมาจะมีคุณภาพสูงมากกว่าเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก
การใช้งาน เหมาะสำหรับการพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพที่สูงมากขึ้น เอกสารสำคัญต่างๆ หรืองานที่ต้องการความคมชัดและสวยงามมากกว่าการพิมพ์อิงค์เจ็ทโดยทั่วไป แต่เครื่อง print ประเภทนี้มีราคาสูง และต้นทุนในการใช้งานและบำรุงรักษาก็สูงมากขึ้นด้วย
หลักการทำงานเครื่องพิมพ์ Laser
1. หลักทางฟิสิกส์ของแสงเมื่อแสงตกกระทบวัตถุ โฟตอนของแสงจะทำให้วัตถุบางชนิดเกิดไฟฟ้าสถิตที่เปลี่ยนแปลงหลักการนี้นำมาใช้ในการทำเลเซอร์พรินเตอร์โดยใช้แสงเลเซอร์ที่มีความเข้มแสงและรายละเอียดสูงเป็นตัวฉายแสงลงบน Photorecepter? drum แสดงรูปภาพที่ต้องการ
2. หลักการทางไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้าที่มีประจุไฟฟ้าสถิต ขั้วต่างกันจะดูดเข้าหากันขั้วเหมือนกันจะพลักกัน ในเครื่องเลเซอร์พรินเตอร์ จะทำให้ผิวของฟิมล์ที่เคลือบบน photoreceptor drum? เป็นประจุไฟฟ้าบวกด้วยขั้วไฟฟ้า Corona Wire เมื่อ drum หมุนมาแสงเลเซอร์ที่มีข้อมูลจะวาดรูปที่ต้องการลงบน drum จะปรากฎภาพไฟฟ้าสถิตประจุลบบนพื้นทีเป็นประจุบวก(คล้ายกับเราเขียนกาวลงบนกระป๋องแล้วไปกลิ้งบนทรายทรายจะติดบนกระป๋องตามเส้นที่เราทากาวไว้) จากนั้นกลิ้งผงหมึก Toner ที่เป็นประจุบวกลงบน drum ผงหมึกจะติดลงบนส่วนที่เป็นประจุลบ
3. พิมพ์ลงบนกระดาษใช้หลักไฟฟ้าสถิตเช่นเดียวกันโดยลูกกลิ้งที่ทำให้กระดาษเป็นประจุลบ ผงหมึกประจุบวกบน drum จะพิมพ์ติดบนกระดาษ จากนั้นจะผ่านความร้อนทำให้หมึกละลาย Fuser ให้หมึกที่มีส่วนผสมของอนูของสีและพลาสติกละลายเกาะติดกระดาษอย่างแน่นหนาและไม่หลุดลอก(เราจะรู้สึกว่ากระดาษอุ่นเมื่อพิมพ์ออกมาเสร็จใหม่ๆ)
ทิศทางการเดินทางของกระดาษ
จากการทำงานของ
printer ส่วนที่สำคัญที่ต้องเปลี่ยนบ่อยๆมีส่วนของ Toner
ที่จะต้องมีการเปลี่ยนเมื่อหมึกหมด
คุณภาพหมึกพิมพ์และลูกกลิ้งมีผลกับความคมชัดของงานพิมพ์ครับprinter
บางยี่ห้อจะรวมส่วน Drum และ Toner เข้าด้วยกัน
เวลาเปลี่ยนต้องเปลี่ยนทั้งหมดครับ เราไม่จำเป็นต้องใช้ Toner
ของแท้จากโรงงานครับ เพราะราคาแพงมากราคาเกือบเท่าเครื่อง printer
ใหม่เลยทีเดียวถ้าได้ toner? remanufactor
ที่ใช้อะไหล่ของแท้ก็สามารถใช้แทนได้ครับโดยไม่ส่งผลกระทบกับเครื่องเลย
ปัจจุบัน tonner ยังติด ship
ควบคุมปริมาณการพิมพ์อีกด้วยการเปลี่ยนผงหมึกต้องเปลี่ยน ship reset
ใหม่ด้วยครับถึงจะใช้ได้
4. Plotter เป็นเครื่องพิมพ์ชนิดที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ
ลงบนกระดาษที่ทำมาเฉพาะงาน พล็อตเตอร์ทำงานโดยใช้วิธีเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใช้ปากกาได้ 6-8 สี
ความเร็วในการทำงานของ พล็อตเตอร์มีหน่วยวัดเป็นนิ้วต่อวินาที (Inches Per
Second : IPS) ซึ่งหมายถึงจำนวนนิ้วที่พล็อตเตอร์สามารถ
เลื่อนปากกาไปบนกระดาษ
การใช้งานเหมาะสำหรับงานเกี่ยวกับการเขียนแบบทางวิศวกรรม
และงานตกแต่งภายใน ใช้สำหรับวิศวกรรมและสถาปนิก งานพิมพ์ขนาดใหญ่มีหน้ากว้าง เหมาะสำหรับทำงานด้านป้ายหรือโฆษณา
5. Multifunction printer
เครื่องพิมพ์ประเภทนี้เป็น printer
ที่รวบรวมฟังก์ชันที่หลากหลายในการทำงานไว้ในเครื่องตัวเดียว เช่น สามารถ
scan, copy หรือรับ-ส่งแฟ็กซ์ ได้ในตัวเอง
ทำให้มีความสะดวกสบายในการใช้งานที่ค่อนข้างมาก
แต่ทั้งนี้ราคาก็มักจะสูงตามความสามารถที่มากขึ้นด้วย
การใช้งานที่หลากหลายนี้ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการความคุ้มค่า
และสะดวกสบายในการทำงาน ซึ่งสามารถเลือกฟังก์ชันจากรุ่นที่มีได้ตามต้องการ
นอกจากประเภทของ printer ต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว
ยังมีเครื่องพิมพ์ที่สำหรับพิมพ์งานเฉพาะด้าน อีกหลายแบบด้วยกัน เช่น
เครื่องพิมพ์ฟิล์ม, เครื่องพิมพ์สติกเกอร์-ป้ายต่างๆ เป็นต้น ซึ่ง
ผมขอไม่ลงรายละเอียดไปมากกว่านี้แล้วกันนะครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)